Publication:
การรับรู้ปัจจัยเอื้อและปัจจัยอุปสรรคต่อการมีส่วนร่วมในการจัดการกับอาการของผู้ป่วยมะเร็งระบบโลหิตวิทยาระหว่างรับการรักษาในโรงพยาบาล

dc.contributor.authorวารุณี พลิกบัวen_US
dc.contributor.authorคนึงนิจ พงศ์ถาวรกมลen_US
dc.contributor.authorพิจิตรา เล็กดำรงกุลen_US
dc.contributor.authorชลธิรา เรียงคำen_US
dc.contributor.authorWarunee Phligbuaen_US
dc.contributor.authorKanaungnit Pongthavornkamolen_US
dc.contributor.authorPichitra Lekdamrongkulen_US
dc.contributor.authorChontira Riangkamen_US
dc.contributor.otherมหาวิทยาลัยมหิดล. คณะพยาบาลศาสตร์en_US
dc.contributor.otherมหาวิทยาลัยมหิดล. คณะพยาบาลศาสตร์. ภาควิชาการพยาบาลอายุรศาสตร์en_US
dc.date.accessioned2020-12-30T11:43:30Z
dc.date.available2020-12-30T11:43:30Z
dc.date.created2563-12-30
dc.date.issued2563
dc.description.abstractวัตถุประสงค์: เพื่อศึกษาการรับรู้ปัจจัยเอื้อและปัจจัยอุปสรรคต่อการมีส่วนร่วมในการจัดการกับอาการของผู้ป่วยมะเร็งระบบโลหิตวิทยาระหว่างเข้ารับการรักษาในโรงพยาบาล รูปแบบการวิจัย: การวิจัยเชิงคุณภาพ วิธีดำเนินการวิจัย: สัมภาษณ์เชิงลึกผู้ป่วยมะเร็งระบบโลหิตวิทยาที่เข้ารับการรักษาแบบผู้ป่วยในในโรงพยาบาลระดับตติยภูมิของมหาวิทยาลัย ในกรุงเทพมหานคร จำนวน 50 ราย ด้วยข้อคำถามปลายเปิดกึ่งโครงสร้าง วิเคราะห์ข้อมูลโดยใช้การวิเคราะห์เชิงเนื้อหา ผลการวิจัย: พบว่าการรับรู้ปัจจัยเอื้อและอุปสรรคต่อการมีส่วนร่วมในการจัดการกับอาการของผู้ป่วยมี 4 ประเด็นหลัก คือ 1) ด้านผู้ป่วย เช่น บุคลิกหรือลักษณะของผู้ป่วย ความเจ็บป่วยและความรุนแรงของโรคในขณะนั้น ความรู้เกี่ยวกับโรคและการรักษา ความจำ 2) ด้านบุคลากรทางการแพทย์และระบบของโรงพยาบาล เช่น เวลาและระบบการทำงานของโรงพยาบาล พฤติกรรมและลักษณะบุคลิกภาพของบุคลากรสุขภาพ 3) การสื่อสารระหว่างผู้ป่วยและแพทย์ เช่น การสื่อสารด้วยภาษาที่เป็นศัพท์เฉพาะทางการแพทย์ 4) ข้อมูล เช่น ข้อมูลที่ได้รับจากแพทย์และพยาบาลที่อาจจะเพียงพอหรือไม่เพียงพอ เป็นต้น จากการวิเคราะห์พบว่าปัจจัยเอื้อและปัจจัยที่เป็นอุปสรรคต่อการมีส่วนร่วมของผู้ป่วยขณะเข้ารับการรักษาในโรงพยาบาลมีความเหมือนกันในหลายประเด็นหลัก สรุปและข้อเสนอแนะ: ผลการวิจัยครั้งนี้ทำให้เกิดความเข้าใจการรับรู้ของผู้ป่วยมะเร็งโลหิตวิทยาเกี่ยวกับปัจจัยที่ส่งเสริม และที่เป็นอุปสรรคต่อการมีส่วนร่วมในการจัดการกับอาการขณะเข้ารับการรักษาในโรงพยาบาล ซึ่งจะเป็นประโยชน์สำหรับบุคลากรสุขภาพ โดยเฉพาะอย่างยิ่งแพทย์และพยาบาล นำไปสู่การพัฒนาและปรับปรุงระบบการทำงานที่จะส่งเสริมให้เกิดปัจจัยเอื้อเพิ่มขึ้น และจัดการกับปัจจัยที่เป็นอุปสรรคต่อการมีส่วนร่วมของผู้ป่วยให้น้อยลง ทำให้เกิดความปลอดภัยในการดูแลผู้ป่วย อันนำไปสู่ผลลัพธ์ที่ดีของการจัดการกับอาการ และคุณภาพของการดูแลที่ดียิ่งขึ้นต่อไปen_US
dc.description.abstractPurpose: To explore hematological cancer patients’ perceptions of the facilitators of and barriers to their participation in symptom management during hospitalization. Design: Descriptive qualitative study. Methods: Data were collected using face to face interviews among 50 hematological cancer patients in oncology units of one tertiary care university hospital in Bangkok, Thailand. Participants were asked to give a semi-structured qualitative interview. Data were analyzed by using a qualitative content analysis. Main findings: Four categories of patients’ perceptions of facilitators of and barriers to their participation in symptom management emerged from transcribed interviews: 1) patient-related factors (i.e., patients’ personalities or characteristics, symptom burden, disease and medical knowledge, and memory), 2) healthcare provider-related factors and hospitals’ system (i.e., health care providers’ characteristics or behaviors, time, and workplace system), 3) patient-physician communication (i.e., communication regarding medical terminology), and 4) information (i.e., sufficient/insufficient information). There were similarities in the facilitators of and barriers to the operationalization of patient participation in an acute oncology setting. Conclusion and recommendations: This research findings create an understanding of patients’ perceptions of facilitators of and barriers to their participation in symptom management during hospitalization. It will benefit healthcare professionals, especially physicians and nurses, as it leads to the enhancement of the facilitators and the elimination of the barriers in promoting patient participation. Understanding patient perceptions of facilitators of and barriers to participating in symptom management may lead to improving patients’ safety, quality patient symptom outcomes, and quality of care.en_US
dc.description.sponsorshipโครงการวิจัยได้รับทุนสนับสนุนจาก The Centre for Quality and Patient Safety Research, Deakin Universityen_US
dc.identifier.citationวารสารพยาบาลศาสตร์. ปีที่ 38, ฉบับที่ 4 (ต.ค.- ธ.ค. 2563), 77-90en_US
dc.identifier.urihttps://repository.li.mahidol.ac.th/handle/20.500.14594/60636
dc.language.isothaen_US
dc.rightsมหาวิทยาลัยมหิดลen_US
dc.rights.holderคณะพยาบาลศาสตร์ มหาวิทยาลัยมหิดลen_US
dc.subjectความต้องการมีส่วนร่วมในการดูแลของผู้ป่วยen_US
dc.subjectการจัดการกับอาการen_US
dc.subjectมะเร็งen_US
dc.subjectpatient participationen_US
dc.subjectsymptom managementen_US
dc.subjectcanceren_US
dc.subjectวารสารพยาบาลศาสตร์
dc.subjectJournal of Nursing Science
dc.subjectNursing Science Journal of Thailand
dc.titleการรับรู้ปัจจัยเอื้อและปัจจัยอุปสรรคต่อการมีส่วนร่วมในการจัดการกับอาการของผู้ป่วยมะเร็งระบบโลหิตวิทยาระหว่างรับการรักษาในโรงพยาบาลen_US
dc.title.alternativeHematological Cancer Patients’ Perceptions of Facilitators and Barriers to Their Participation in Symptom Management during Hospitalizationen_US
dc.typeResearch Articleen_US
dspace.entity.typePublication
mods.location.urlhttps://he02.tci-thaijo.org/index.php/ns/article/view/244605

Files

Original bundle

Now showing 1 - 1 of 1
Thumbnail Image
Name:
ns-ar-kanaungn-2563.pdf
Size:
244.27 KB
Format:
Adobe Portable Document Format

License bundle

Now showing 1 - 1 of 1
No Thumbnail Available
Name:
license.txt
Size:
1.71 KB
Format:
Item-specific license agreed upon to submission
Description:

Collections