Publication: การพัฒนาตัวชี้วัดและเกณฑ์การประเมินงานจัดซื้อสินค้า สำหรับงานพัสดุมหาวิทยาลัยมหิดลด้วยวิธีเดลฟาย
dc.contributor.author | พิชามญชุ์ กาหลง | en_US |
dc.contributor.author | Pichamon Kalong | en_US |
dc.contributor.other | มหาวิทยาลัยมหิดล. สถาบันนวัตกรรมการเรียนรู้ | en_US |
dc.date.accessioned | 2021-05-27T16:31:15Z | |
dc.date.available | 2021-05-27T16:31:15Z | |
dc.date.created | 2564-05-27 | |
dc.date.issued | 2564 | |
dc.description.abstract | การวิจัยครั้งนี้มีวัตถุประสงค์ เพื่อพัฒนาตัวชี้วัดและเกณฑ์การประเมินงานจัดซื้อสินค้าของมหาวิทยาลัยมหิดลให้มีความถูกต้องเชิงเนื้อหา และเป็นไปตามขอบเขตงานพัสดุตามพระราชบัญญัติการจัดซื้อจัดจ้างและการบริหารพัสดุภาครัฐ พ.ศ. 2560 และระเบียบกระทรวงการคลังว่าด้วยการจัดซื้อจัดจ้างและการบริหารพัสดุภาครัฐ พ.ศ. 2560 การวิจัยในครั้งนี้เป็นวิจัยเชิงสำรวจ (Survey Research) การวิจัยครั้งนี้เก็บข้อมูลจากผู้เชี่ยวชาญจำนวน 14 คน ผู้วิจัยวิเคราะห์ข้อมูลด้วยเทคนิควิธีเดลฟาย (Delphi Method) ผลการศึกษาพบว่า ตัวชี้วัดและเกณฑ์การประเมินงานจัดซื้อสินค้าของมหาวิทยาลัยมหิดล มี 8 ข้อ ได้แก่ ตัวชี้วัดที่ 1 ระยะเวลาในการจัดทำแผนการจัดซื้อจัดจ้างสินค้า (เหมาะสมมากที่สุด, สอดคล้องมากที่สุด) ตัวชี้วัดที่ 2 ระยะเวลาในการจัดทำเอกสาร (เหมาะสมมาก, สอดคล้องมากที่สุด) ตัวชี้วัดที่ 3 ระยะเวลาในการจัดทำราคากลางสินค้า (เหมาะสมมากที่สุด, สอดคล้องมากที่สุด) ตัวชี้วัดที่ 4 ประสิทธิภาพและประสิทธิผลในการปฏิบัติงานจัดซื้อจัดจ้าง (เหมาะสมมากที่สุด, สอดคล้องมากที่สุด) ตัวชี้วัดที่ 5 ความโปร่งใสในกระบวนการจัดซื้อจัดจ้าง (เหมาะสมมาก, สอดคล้องมากที่สุด) ตัวชี้วัดที่ 6ความคุ้มค่า ด้านคุณลักษณะในการดำเนินการจัดซื้อจัดจ้าง (เหมาะสมมาก, สอดคล้องมากที่สุด) ตัวชี้วัดที่ 7 ความคุ้มค่า ด้านราคา ในการดำเนินการจัดซื้อจัดจ้าง (เหมาะสมมาก, สอดคล้องมากที่สุด) และตัวชี้วัดที่ 8 ความตรวจสอบได้ ในกระบวนการจัดซื้อจัดจ้าง (เหมาะสมมาก, สอดคล้องมากที่สุด) | en_US |
dc.description.abstract | This study developed indicators and criteria of procurement for Mahidol University to comply with the law on “Government Procurement and Supplies Management Act B.E. 2017” and the “Annual Budget Expenditure Budget Act B.E. 2017.” Research survey methods were used to collect data from 14 participants. The survey data was analyzed using the Delphi method. The results showed that there are 8 indicators as follows: Indicator 1 is Time in Planning a Purchase Order (most appropriate, most consistent), Indicator 2 is Time in Preparing Documents (Very appropriate, most consistent), Indicator 3 is Time in Obtaining Price Quotes (most appropriate, most consistent), Indicator 4 is Efficiency and Effectiveness in Operations (most appropriate, most consistent), Indicator 5 is Transparency (very appropriate, most consistent), Indicator 6 is Value for Features of the Purchase (very appropriate, most consistent), Indicator 7 is Value for the Price of the Purchase (very appropriate, most consistent) and Indicator 8 is Accountability (very appropriate, most consistent). | en_US |
dc.identifier.citation | วารสารการพัฒนางานประจำสู่งานวิจัย. ปีที่ 8, (ม.ค.-มิ.ย. 2564), 44-52 | en_US |
dc.identifier.uri | https://repository.li.mahidol.ac.th/handle/20.500.14594/62318 | |
dc.language.iso | tha | en_US |
dc.rights | มหาวิทยาลัยมหิดล | en_US |
dc.rights.holder | คณะสิ่งแวดล้อมและทรัพยากรศาสตร์ มหาวิทยาลัยมหิดล | en_US |
dc.subject | การพัฒนา | en_US |
dc.subject | ตัวชี้วัด | en_US |
dc.subject | เกณฑ์การประเมิน | en_US |
dc.subject | งานพัสดุ | en_US |
dc.subject | มหาวิทยาลัยมหิดล | en_US |
dc.subject | วิธีเดลฟาย | en_US |
dc.subject | นักวิชาการพัสดุ | en_US |
dc.subject | วารสารการพัฒนางานประจำสู่งานวิจัย | en_US |
dc.subject | Journal of Professional Routine to Research | en_US |
dc.title | การพัฒนาตัวชี้วัดและเกณฑ์การประเมินงานจัดซื้อสินค้า สำหรับงานพัสดุมหาวิทยาลัยมหิดลด้วยวิธีเดลฟาย | en_US |
dc.title.alternative | Development of Indicators and Criteria of Procurement Job for Mahidol University by Delphi Method | en_US |
dc.type | Research Article | en_US |
dspace.entity.type | Publication | |
mods.location.url | https://so03.tci-thaijo.org/index.php/jpr2r/article/view/249142 |