Publication: Demographic Determinants Associated with HIV Risky Sexual Behaviors among Thai Males: A Literature Review
Issued Date
2010
Resource Type
Language
eng
ISSN
0125-3611 (Print)
2651-0561 (Online)
2651-0561 (Online)
Rights
Mahidol University
Rights Holder(s)
Department of Nursing Faculty of Medicine Ramathibodi Hospital Mahidol University
Bibliographic Citation
Ramathibodi Medical Journal. Vol. 33, No. 2 (Apr-Jun 2010), 92-100
Suggested Citation
Poolsuk Janepanish, พูลสุข เจนพานิชย์ Demographic Determinants Associated with HIV Risky Sexual Behaviors among Thai Males: A Literature Review. Ramathibodi Medical Journal. Vol. 33, No. 2 (Apr-Jun 2010), 92-100. Retrieved from: https://repository.li.mahidol.ac.th/handle/20.500.14594/79861
Research Projects
Organizational Units
Authors
Journal Issue
Thesis
Title
Demographic Determinants Associated with HIV Risky Sexual Behaviors among Thai Males: A Literature Review
Alternative Title(s)
ทบทวนวรรณกรรมปัจจัยทางด้านประชากรศาสตร์ที่มีความสัมพันธ์กับพฤติกรรมเสี่ยงต่อการติดเชื้อเอชไอวีในผู้ชายไทย
Author(s)
Other Contributor(s)
Abstract
The integrated literature review aimed to examine demographic determinants associated with HIV risky sexual behaviors among Thai Males. A literature search was conducted using three databases published in English from 1995-2007. The application of carefully constructed inclusion criteria identified 11 relevant articles. According to HIV risky sexual behaviors among Thai young adult males: inconsistent condom use, multiple sex partners, and anal intercourse, this article elicited that Thai single males aged 25-29 years old, low educated, and resident in the urban areas of Thailand were associated with inconsistent condom use. However, the association between marital status and inconsistent condom use was not consistent. For multiple sex partners, five studies stated that being single, older than 21 years and lower educated were associated with having multiple sex partners among Thai males. Moreover, Thai males who lived in urban areas or big cities had evidence of multiple sex partners more so than those in rural areas or other parts of Thailand. The studies of anal intercourse reported different aspects of demographics from inconsistent condom use and multiple sex partners. They found that Thai male who had experience with anal intercourse were strongly associated with a high educational level, including university and vocational school. Moreover, these Thai men were generally younger. After the demographic determinants of risky sexual behaviors are completely documented, the urgent need for more effective behavioral interventions should be addressed, Understanding these issues is important if programs are to be properly prioritized, appropriately, designed to address the needs of target population.
การสังเคราะห์งานวิจัยนี้มีจุดประสงค์เพื่อศึกษาปัจจัยทางด้านประชากรศาสตร์ที่มีความสัมพันธ์กับพฤติกรรมเสี่ยงต่อการติดเชื้อเอชไวีในผู้ชายไทย การทบทวนวรรณกรรมทำโดยใช้การค้นหาจากฐานข้อมูลที่นำเชื่อถือ 3 แหล่ง ซึ่งตีพิมพ์เป็นภาษาอังกฤษตั้งแต่ปี พ.ศ. 2538 ถึง พ.ศ. 2550 การค้นหาอย่างระมัดระวังในเรื่องเกณฑ์การผนวกได้จำแนกบทความได้จำนวน 11 บทความ จากการสังเคระห์งนวิจัยเกี่ยวกับพฤติกรรมเสี่ยงในการติดเชื้อเอชไอวีไนผู้ชายไทย ซึ่งได้แก่ การใช้ถุงยางอนามัยที่ไม่สม่ำเสมอ การมีคู่นอนหรือคู่ครองมากกว่า 1 คน และการมีเพศสัมพันธ์ทางทวารหนัก พบว่าผู้ชายไทยโสด อายุ 25-29 ปี การศึกษาน้อย และอาศัยในเมืองใหญ่ๆ ของประเทศไทย มีความสัมพันธ์กับการใช้ถุงยางอนามัยไม่สม่ำเสมอ อย่างไรก็ตาม ยังไม่ป็นที่แน่นอนเกี่ยวกับความสัมพันธ์ระหว่างสถานะภาพทางการสมรสกับการการใช้ถุงยางอนามัยไม่สม่ำเสมอ สำหรับการมีคู่นอนหรือคู่ครองมากกว่า 1 คน มีงานวิจัยจำนวน 5 งานวิจัยพบว่าสถานภาพโสด อายุมากกว่ 21 ปีขึ้นไป และมีการศึกษาน้อย มีความสัมพันธ์กับการมีคู่นอนหรือคู่ครองมากกว่า 1 คนของผู้ชายไทย นอกจากนี้ มีรยงานว่าชายไทยที่อาศัยในเมืองใหญ่ๆ มีคู่นอนหรือคู่ครองมากกว่า 1 มากกว่าชายไทยที่อาศัยในชนบท หรือส่วนอื่นๆ ของประเทศไทย การวิจัยเกี่ยวกับการมีเพศสัมพันธ์ทางทวารหนัก รายงานข้อมูลเกี่ยวกับปัจจัยทางด้านประชากรศาสตร์ ที่แตกต่างไปจากข้อมูลของการใช้ถุงยางอนามัยที่ไม่สม่ำเสมอ และการมีคู่นอนหรือคู่ครองมากกว่า 1 คน โดยพบว่า ผู้ชายไทยที่มีเพศสัมพันธ์ทางทวารหนักมีความสัมพันธ์อย่างมาก กับระดับการศึกษาที่สูง ได้แก่ ระดับอาชีวศึกษา และ มหาวิทยาลัย นอกจากนี้ผู้ชายไทยเหล่านี้ยังมีอายุน้อย หลังจากที่ได้รู้ข้อมูลเกี่ยวกับปัจจัยทางด้านประชากรศาสตร์ที่มีความสัมพันธ์กับพฤติกรรมเสี่ยงต่อการติดเชื้อเอชไอวีในผู้ชายไทยแล้ว มีความจำป็นอย่างเร่งด่วนที่จะจัดทำโครงการปรับเปลี่ยนพฤติกรรมที่มีประสิทธิภาพ โดยมุ่งเน้นการให้ความสำคัญกับกลุ่มเป้าหมายอย่างถูกต้องและเหมาะสม และสอดคล้องกับความต้องการของกลุ่มเป้าหมาย
การสังเคราะห์งานวิจัยนี้มีจุดประสงค์เพื่อศึกษาปัจจัยทางด้านประชากรศาสตร์ที่มีความสัมพันธ์กับพฤติกรรมเสี่ยงต่อการติดเชื้อเอชไวีในผู้ชายไทย การทบทวนวรรณกรรมทำโดยใช้การค้นหาจากฐานข้อมูลที่นำเชื่อถือ 3 แหล่ง ซึ่งตีพิมพ์เป็นภาษาอังกฤษตั้งแต่ปี พ.ศ. 2538 ถึง พ.ศ. 2550 การค้นหาอย่างระมัดระวังในเรื่องเกณฑ์การผนวกได้จำแนกบทความได้จำนวน 11 บทความ จากการสังเคระห์งนวิจัยเกี่ยวกับพฤติกรรมเสี่ยงในการติดเชื้อเอชไอวีไนผู้ชายไทย ซึ่งได้แก่ การใช้ถุงยางอนามัยที่ไม่สม่ำเสมอ การมีคู่นอนหรือคู่ครองมากกว่า 1 คน และการมีเพศสัมพันธ์ทางทวารหนัก พบว่าผู้ชายไทยโสด อายุ 25-29 ปี การศึกษาน้อย และอาศัยในเมืองใหญ่ๆ ของประเทศไทย มีความสัมพันธ์กับการใช้ถุงยางอนามัยไม่สม่ำเสมอ อย่างไรก็ตาม ยังไม่ป็นที่แน่นอนเกี่ยวกับความสัมพันธ์ระหว่างสถานะภาพทางการสมรสกับการการใช้ถุงยางอนามัยไม่สม่ำเสมอ สำหรับการมีคู่นอนหรือคู่ครองมากกว่า 1 คน มีงานวิจัยจำนวน 5 งานวิจัยพบว่าสถานภาพโสด อายุมากกว่ 21 ปีขึ้นไป และมีการศึกษาน้อย มีความสัมพันธ์กับการมีคู่นอนหรือคู่ครองมากกว่า 1 คนของผู้ชายไทย นอกจากนี้ มีรยงานว่าชายไทยที่อาศัยในเมืองใหญ่ๆ มีคู่นอนหรือคู่ครองมากกว่า 1 มากกว่าชายไทยที่อาศัยในชนบท หรือส่วนอื่นๆ ของประเทศไทย การวิจัยเกี่ยวกับการมีเพศสัมพันธ์ทางทวารหนัก รายงานข้อมูลเกี่ยวกับปัจจัยทางด้านประชากรศาสตร์ ที่แตกต่างไปจากข้อมูลของการใช้ถุงยางอนามัยที่ไม่สม่ำเสมอ และการมีคู่นอนหรือคู่ครองมากกว่า 1 คน โดยพบว่า ผู้ชายไทยที่มีเพศสัมพันธ์ทางทวารหนักมีความสัมพันธ์อย่างมาก กับระดับการศึกษาที่สูง ได้แก่ ระดับอาชีวศึกษา และ มหาวิทยาลัย นอกจากนี้ผู้ชายไทยเหล่านี้ยังมีอายุน้อย หลังจากที่ได้รู้ข้อมูลเกี่ยวกับปัจจัยทางด้านประชากรศาสตร์ที่มีความสัมพันธ์กับพฤติกรรมเสี่ยงต่อการติดเชื้อเอชไอวีในผู้ชายไทยแล้ว มีความจำป็นอย่างเร่งด่วนที่จะจัดทำโครงการปรับเปลี่ยนพฤติกรรมที่มีประสิทธิภาพ โดยมุ่งเน้นการให้ความสำคัญกับกลุ่มเป้าหมายอย่างถูกต้องและเหมาะสม และสอดคล้องกับความต้องการของกลุ่มเป้าหมาย