Publication: เหตุรำคาญจากกลิ่น
Issued Date
2552
Resource Type
Language
tha
ISSN
0125-1678
Rights
มหาวิทยาลัยมหิดล.
Rights Holder(s)
มหาวิทยาลัยมหิดล.
Bibliographic Citation
วารสารสาธารณสุขศาสตร์. ปีที่ 39, ฉบับที่ 3 (2552), 377-385
Suggested Citation
ธนาศรี สีหะบุตร, Tanasri Sihabut เหตุรำคาญจากกลิ่น. วารสารสาธารณสุขศาสตร์. ปีที่ 39, ฉบับที่ 3 (2552), 377-385. สืบค้นจาก: https://repository.li.mahidol.ac.th/handle/20.500.14594/2506
Research Projects
Organizational Units
Authors
Journal Issue
Thesis
Title
เหตุรำคาญจากกลิ่น
Alternative Title(s)
Odor nuisance
Author(s)
Corresponding Author(s)
Other Contributor(s)
Abstract
จากการรวบรวมสถิติเหตุรำคาญโดยกรมควบคุมมลพิษ กระทรวงทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อม เหตุรำคาญจากกลิ่นรบกวนป็นปัญหาที่ถูกร้องเรียนมากเป็นอันดับหนึ่งเนื่องจากมลพิษทางอากาศมีการขยายตัวขึ้นอย่างรวดเร็วในหลายพื้นที่ของประเทศ ประกอบกับมนุษย์มีประสาทสัมผัสทางด้านกลิ่นซึ่งสามารถใช้เป็นระบบการเตือนภัยเบื้องต้น ในการสอบสวนเหตุรำคาญจากกลิ่นรบกวนผู้สอบสวนมักจะพบกับความยุ่งยากเนื่องจากมีปัจจัยหลายอย่างเข้ามาเกี่ยวข้อง ดังนั้น การสอบสวนเหตุรำคาญจึงควรจะใช้วิธีการหลากหลายเพื่อหาหลักฐานมาประกอบการตัดสินใจที่เป็นธรรม เช่น การตรวจวัดโดยการใช้ประสาทสัมผัส การหาระดับความเข้มข้นของสารเคมี รวมถึงการสำรวจและหาปริมาณคนที่ได้รับความเดือดร้อนมาเป็นเกณฑ์ร่วมในการตัดสินเหตุรำคาญ สำหรับประเทศไทย แม้ว่าจะมีมาตรฐานหรือกฏหมายจากหลายหน่วยงาน แต่การตรวจสอบปัญหาดังกล่าวก็ยังมีความยุ่งยากเนื่องจากการขาดแคลนเครื่องมือ การขาดแคลนบุคลากรที่มีความรู้และเกณฑ์ที่ใช้ในการตัดสินใจเรื่องกลิ่นรบกวนยังขาดความชัดเจน ดังนั้น การศึกษาวิธีการสอบสวนเหตุรำคาญที่หลากหลายจากประเทศอื่นซึ่งมีแนวทางการตรวจสอบและเกณฑ์การตัดสินใจชัดเจน เช่น อเมริกา ญี่ปุ่น ประเทศในกลุ่มยุโรป พร้อมกับนำมาประยุกต์ใช้ให้เหมาะสม จึงเป็นสิ่งที่จำเป็นในการพัฒนาต่อไป
From the nuisance statistics recorded by Pollution Control Department, Ministry of Natural
Resources and Environment, the problem, which has been complained the most, is odor nuisance. This is
because air pollution problem has been expanded to many areas in Thailand and human pose a sense of
smell serving as the early warning system. For odor nuisance investigations, inspectors always face
some difficulties due to several related factors. Therefore, various investigation methods should be
applied in order to collect evidences leading to a fair decision making such as sensory test, chemical
concentration measurement and numbers of complaints. Although there are several standards or
laws and regulations released from several governmental organizations in Thailand, investigators still
have troubles because of lacking of instruments, experts and clear-cut criteria. Therefore, thoroughly
studying several clear investigation guidelines and decision criteria from other countries such as USA,
Japan and EU countries and appropriately apply to our country further need to be developed.