Publication: ปัจจัยที่มีอิทธิพลต่อพฤติกรรมสุขภาพของผู้ที่บาดเจ็บไขสันหลัง
Issued Date
2566
Resource Type
Resource Version
Accepted Manuscript
Language
tha
ISSN
2822-1370 (Print)
2822-1389 (Online)
2822-1389 (Online)
Journal Title
วารสารวิจัยและนวัตกรรมทางการพยาบาล
Volume
29
Issue
3
Start Page
349
End Page
362
Access Rights
open access
Rights
ผลงานนี้เป็นลิขสิทธิ์ของมหาวิทยาลัยมหิดล ขอสงวนไว้สำหรับเพื่อการศึกษาเท่านั้น ต้องอ้างอิงแหล่งที่มา ห้ามดัดแปลงเนื้อหา และห้ามนำไปใช้เพื่อการค้า
Rights Holder(s)
โรงเรียนพยาบาลรามาธิบดี คณะแพทยศาสตร์โรงพยาบาลรามาธิบดี มหาวิทยาลัยมหิดล
คณะแพทยศาสตร์โรงพยาบาลรามาธิบดี มหาวิทยาลัยมหิดล
คณะแพทยศาสตร์โรงพยาบาลรามาธิบดี มหาวิทยาลัยมหิดล
Bibliographic Citation
วารสารวิจัยและนวัตกรรมทางการพยาบาล. ปีที่ 29, ฉบับที่ 3 (ก.ย.-ธ.ค. 2566), 349-362
Suggested Citation
ดลิน รัตนสุุข, วรางคณา สาริพันธุ์, Dalin Rattanasuk, Warangkana Saripan ปัจจัยที่มีอิทธิพลต่อพฤติกรรมสุขภาพของผู้ที่บาดเจ็บไขสันหลัง. วารสารวิจัยและนวัตกรรมทางการพยาบาล. ปีที่ 29, ฉบับที่ 3 (ก.ย.-ธ.ค. 2566), 349-362. 362. สืบค้นจาก: https://repository.li.mahidol.ac.th/handle/20.500.14594/98962
Research Projects
Organizational Units
Authors
Journal Issue
Thesis
Title
ปัจจัยที่มีอิทธิพลต่อพฤติกรรมสุขภาพของผู้ที่บาดเจ็บไขสันหลัง
Alternative Title(s)
Factors Affecting Health Behaviors among People with Spinal Cord Injuries
Abstract
การศึกษาเชิงทำนายครั้งนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อศึกษาปัจจัยที่มีอิทธิพลต่อพฤติกรรมสุขภาพของผู้ที่บาดเจ็บไขสันหลังโดยใช้แบบจำลองPRECEDE-PROCEED เป็นกรอบแนวคิดในการศึกษา กลุ่มตัวอย่างคือผู้ที่บาดเจ็บไขสันหลังจำนวน150 รายเลือกกลุ่มตัวอย่างแบบเฉพาะเจาะจงตามเกณฑ์ทำการเก็บรวบรวมข้อมูลโดยใช้แบบสอบถาม 4 ชุด เพื่อประเมินข้อมูลส่วนบุคคล ความรู้สึกมีคุณค่าในตนเอง การสนับสนุนทางสังคม และพฤติกรรมสุขภาพ สถิติที่ใช้ในการวิเคราะห์ข้อมูลคือสถิติเชิงพรรณนาสถิติสหสัมพันธ์และการวิเคราะห์การถดถอยพหุคูณ ผลการศึกษาพบว่าความรู้สึกมีคุณค่าในตนเองและการสนับสนุนทางสังคม มีความสัมพันธ์ทางบวกกับพฤติกรรมสุขภาพของผู้ที่บาดเจ็บไขสันหลังอย่างมีนัยสำคัญทางสถิติแต่อายุและระดับการศึกษาไม่มีความสัมพันธ์กับพฤติกรรมสุขภาพของผู้ที่บาดเจ็บไขสันหลัง การสนับสนุนทางสังคมและความรู้สึกมีคุณค่าในตนเอง สามารถร่วมกันทำนายพฤติกรรมสุขภาพของผู้ที่บาดเจ็บไขสันหลังได้ร้อยละ 23 โดยที่การสนับสนุนทางสังคมเป็นตัวแปรทำนายที่มีอิทธิพลมากที่สุด จากผลการศึกษานี้พยาบาลควรส่งเสริมให้ผู้ป่วยรู้สึกมีคุณค่าในตนเอง และส่งเสริมให้ครอบครัวผู้ดูแลร่วมส่งเสริมให้ผู้ป่วยพฤติกรรมสุขภาพที่ดีอย่างต่อเนื่อง
Description
This predictive research design aimed to investigate predictability of selected factors to explain health behaviors among people with spinal cord injuries.The PRECEDE-PROCEED Model was used as a conceptual framework to guide this study. Purposive sampling based on inclusion criteria was used to recruit a sample of 150 people with spinal cordinjuries.Four self-administered questionnaires were used in data collection: the Demographic Data Form, the Rosenberg Self-Esteem Scale, the Social Support Questionnaire,and the Health Behaviors Scale.Data were analyzed using descriptive statistics,correlation coefficient and multiple regression analysis.The findings revealed that social support and self-esteem were significantly positively related to health behaviors among people with spinal cord injuries. There were no relationships of age and education to health behaviors among them.Social support and self-esteem jointly explained 23%of the variance in health behaviors among people with spinal cord injuries.Social support was the strongest predictor of health behaviors. Our findings suggest that nurses should promote social support and self-esteem to enhance health behaviors among people with spinal cord injuries.