Publication: Performances of village health volunteers in elderly care in Muang District, Nakhon Ratchasima Province, Thailand
Issued Date
2014
Resource Type
Language
eng
ISSN
1905-1387
Rights
Mahidol University
Rights Holder(s)
ASEAN Institute for Health Development. Mahidol University
Bibliographic Citation
Journal of Public Health and Development. Vol.12, No.2 (2014), 21-33
Suggested Citation
Osamu Watanabe, Jiraporn Chompikul, Aroonsri Mongkolchati, Nuanpan Pimpisan, Mahidol University. ASEAN Institute for Health Development Performances of village health volunteers in elderly care in Muang District, Nakhon Ratchasima Province, Thailand. Journal of Public Health and Development. Vol.12, No.2 (2014), 21-33. Retrieved from: https://repository.li.mahidol.ac.th/handle/20.500.14594/1580
Research Projects
Organizational Units
Authors
Journal Issue
Thesis
Title
Performances of village health volunteers in elderly care in Muang District, Nakhon Ratchasima Province, Thailand
Alternative Title(s)
การปฏิบัติงานของอาสาสมัครสาธารณสุขประจำ หมู่บ้านในด้านการดูแลผู้สูงอายุในอำเภอเมือง จังหวัดนครราชสีมา ประเทศไทย
Abstract
A cross-sectional study was conducted to examine an association between performance levels of Village
Health Volunteers (VHVs) in elderly care and related factors. The performances referred to the levels of
activities for the assigned roles and tasks related to elderly care which composed of three scales: Instrument
Active Daily Living scale (IADL), Active Daily Living scale (ADL) and other home cares. A total of 415
self-administered questionnaires were distributed to VHVs in February, 2014. Chi-square tests and multiple
logistic regression were employed to identify significant predictors of VHVs performances.
Approximately 26 % of VHVs were classified into high performances in elderly care. When adjusting
for working hours per day and having experience of taking care of the elderly, significant predictors were:
number of trainings that VHVs participated in Adj OR=2.54, 95% CI=1.45-4.45), levels of knowledge (Adj
OR=2.51, 95% CI= 0.94-6.75 for good level and Adj OR = 1.41, 95% CI = 0.56-3.57 for moderate level)
and high satisfaction with working in elderly care (Adj OR: 2.10, 95% CI= 1.14-3.88). VHVs who had
good knowledge about elderly care were nearly three times more likely to show high performances than
those who had poor knowledge.
The findings suggested that two significant key factors to gain high levels of VHVs’ performance in
elderly care are providing a variety of refresher courses related to elderly care to increase knowledge and
skills, and also improving the work place support system and incentives to promote satisfaction of VHVs
การศึกษานี้เป็นการเก็บข้อมูลแบบภาคตัดขวางเพื่อศึกษาความสัมพันธ์ระหว่างการปฏิบัติงานของอาสาสมัคร สาธารณสุขประจำหมู่บ้าน (อสม.) ในด้านการดูแลผู้สูงอายุและปัจจัยที่เกี่ยวข้อง การปฏิบัติงานในด้านการดูแล ผู้สูงอายุจะประกอบด้วยองค์ประกอบ 3 ด้าน ได้แก่ ความสามารถในการการทำกิจวัตรประจำวันที่ต้องใช้อุปกรณ์ ความสามารถในการทำกิจวัตรประจำวันพื้นฐาน การดแลผู้สูงอายุที่บ้าน เก็บรวบรวมข้อมูลจากอสม. จำนวน 415 คน โดยใช้แบบสอบถามในเดือนกุมภาพันธ์ 2557 วิเคราะห์ข้อมูลโดยใช้การทดสอบไคสแควร์และการถดถอย โลจิสติกเพื่อค้นหาปัจจัยที่มีความสัมพันธ์กับการปฏิบัติงานของอสม.ร้อยละ 26 ของอาสาสมัครสาธารณสุขประจำหมู่บ้าน ได้ปฏิบัติงานในด้านการดูแลผู้สูงอายุอยู่ในระดับดี เมื่อนำจำนวนชั่วโมงการปฏิบัติงานต่อวัน และการมีประสบการณ์ในการดูแลผู้สูงอายุมาร่วมพิจารณา ปัจจัยที่มีความสัมพันธ์อย่างมีนัยสำคัญทางสถิติกับการปฏิบัติงานของอสม.ได้แก่ จำนวนครั้งของการฝึกอบรมที่อสม. ได้เข้าร่วม (Adj OR = 2.54, 95% C I= 1.45-4.45) ระดับความรู้ (Adj OR = 2.51, 95% C I= 0.94-6.75สำหรับ ระดับความรู้ดีและ Adj OR = 1.41, 95% C I= 0.56-3.57 สำหรับระดับความรู้ปานกลาง) และความพึงพอใจ กับการดูแลผู้สูงอายุในระดับสูง (Adj OR = 2.10, 95% C I= 1.14-3.88) อสม.ที่มีระดับความรู้ดีในด้านการดูแล ผู้สูงอายุมีแนวโน้มเกือบสามเท่าที่จะปฏิบัติงานในด้านการดูแลผู้สูงอายุได้ดี ข้อเสนอจากผลการวิจัยนี้ อสม.ควรได้รับการส่งเสริมการเพิ่มศักยภาพ ในการดูแลผู้สูงอายุ ได้แก่ การจัด หลักสูตรฝึกอบรมด้านการดูแลผู้สูงอายุให้มีความหลากหลายเพื่อเพิ่มความรู้และทักษะด้านการดูแลผู้สูงอายุ ให้อสม. ควรสร้างแรงจูงใจให้มากขึ้น พร้อมทั้งปรับปรุงระบบการให้ความสนับสนุนของสถานที่ทำงาน เพื่อส่งเสริมให้อสม.มีความพึงพอใจในงานดูแลผู้สูงอายุเพิ่มมากขึ้น
การศึกษานี้เป็นการเก็บข้อมูลแบบภาคตัดขวางเพื่อศึกษาความสัมพันธ์ระหว่างการปฏิบัติงานของอาสาสมัคร สาธารณสุขประจำหมู่บ้าน (อสม.) ในด้านการดูแลผู้สูงอายุและปัจจัยที่เกี่ยวข้อง การปฏิบัติงานในด้านการดูแล ผู้สูงอายุจะประกอบด้วยองค์ประกอบ 3 ด้าน ได้แก่ ความสามารถในการการทำกิจวัตรประจำวันที่ต้องใช้อุปกรณ์ ความสามารถในการทำกิจวัตรประจำวันพื้นฐาน การดแลผู้สูงอายุที่บ้าน เก็บรวบรวมข้อมูลจากอสม. จำนวน 415 คน โดยใช้แบบสอบถามในเดือนกุมภาพันธ์ 2557 วิเคราะห์ข้อมูลโดยใช้การทดสอบไคสแควร์และการถดถอย โลจิสติกเพื่อค้นหาปัจจัยที่มีความสัมพันธ์กับการปฏิบัติงานของอสม.ร้อยละ 26 ของอาสาสมัครสาธารณสุขประจำหมู่บ้าน ได้ปฏิบัติงานในด้านการดูแลผู้สูงอายุอยู่ในระดับดี เมื่อนำจำนวนชั่วโมงการปฏิบัติงานต่อวัน และการมีประสบการณ์ในการดูแลผู้สูงอายุมาร่วมพิจารณา ปัจจัยที่มีความสัมพันธ์อย่างมีนัยสำคัญทางสถิติกับการปฏิบัติงานของอสม.ได้แก่ จำนวนครั้งของการฝึกอบรมที่อสม. ได้เข้าร่วม (Adj OR = 2.54, 95% C I= 1.45-4.45) ระดับความรู้ (Adj OR = 2.51, 95% C I= 0.94-6.75สำหรับ ระดับความรู้ดีและ Adj OR = 1.41, 95% C I= 0.56-3.57 สำหรับระดับความรู้ปานกลาง) และความพึงพอใจ กับการดูแลผู้สูงอายุในระดับสูง (Adj OR = 2.10, 95% C I= 1.14-3.88) อสม.ที่มีระดับความรู้ดีในด้านการดูแล ผู้สูงอายุมีแนวโน้มเกือบสามเท่าที่จะปฏิบัติงานในด้านการดูแลผู้สูงอายุได้ดี ข้อเสนอจากผลการวิจัยนี้ อสม.ควรได้รับการส่งเสริมการเพิ่มศักยภาพ ในการดูแลผู้สูงอายุ ได้แก่ การจัด หลักสูตรฝึกอบรมด้านการดูแลผู้สูงอายุให้มีความหลากหลายเพื่อเพิ่มความรู้และทักษะด้านการดูแลผู้สูงอายุ ให้อสม. ควรสร้างแรงจูงใจให้มากขึ้น พร้อมทั้งปรับปรุงระบบการให้ความสนับสนุนของสถานที่ทำงาน เพื่อส่งเสริมให้อสม.มีความพึงพอใจในงานดูแลผู้สูงอายุเพิ่มมากขึ้น