Publication:
การจัดการทรัพยากรมนุษย์ที่ส่งผลต่อประสิทธิภาพการปฏิบัติงานของผู้ปฏิบัติงานตำแหน่งประเภทสนับสนุน มหาวิทยาลัยมหิดล

dc.contributor.authorอภิสิทธิ์ คุณวรปัญญาen_US
dc.contributor.authorคำรณ โชธนะโชติen_US
dc.contributor.otherมหาวิทยาลัยมหิดล. คณะวิทยาศาสตร์en_US
dc.date.accessioned2019-05-16T06:19:16Z
dc.date.available2019-05-16T06:19:16Z
dc.date.created2562-05-16
dc.date.issued2561
dc.description.abstractการวิจัยครั้งนี้มุ่งเพื่อศึกษาการจัดการทรัพยากรมนุษย์ ประสิทธิภาพ การปฏิบัติงาน เปรียบเทียบประสิทธิภาพการปฏิบัติงานจำแนกตามปัจจัย ส่วนบุคคล ศึกษาความสัมพันธ์ระหว่างการจัดการทรัพยากรมนุษย์กับ ประสิทธิภาพการปฏิบัติงาน และศึกษาการจัดการทรัพยากรมนุษย์ที่มีอิทธิพล ต่อประสิทธิภาพการปฏิบัติงาน กลุ่มตัวอย่าง คือ ผู้ปฏิบัติงานตำแหน่งประเภท สนับสนุน มหาวิทยาลัยมหิดล จำนวน 362 คน ใช้การสุ่มตัวอย่างแบบง่าย (Simple Random Sampling) โดยใช้สูตรทาโร ยามาเน (Taro Yamane) กำหนดค่าความคลาดเคลื่อนเท่ากับ 0.05 และคำนวณกลุ่มตัวอย่างจากสัดส่วน ของส่วนงาน ด้วยวิธีการสุ่มแบบแบ่งระดับชั้น (Stratified Sampling) แล้ว คัดเลือกหน่วยตัวอย่างจากประชากรแต่ละกลุ่มมาให้ครบทุกกลุ่ม เครื่องมือที่ ใช้ในการวิจัยเป็นแบบสอบถามที่ผู้วิจัยได้ปรับโครงสร้างและมีค่าความเชื่อมั่น ของแบบสอบถามทั้งฉบับเท่ากับ 0.96 สถิติที่ใช้ในการวิเคราะห์ข้อมูล ได้แก่ ค่าความถี่ ค่าร้อยละ ค่าเฉลี่ย ส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐานการทดสอบค่าที (t-test) การทดสอบค่าเอฟ (F-test) ทดสอบค่าสัมประสิทธิ์สหสัมพันธ์ของเพียร์สัน และวิเคราะห์โดยใช้การถดถอยพหุคูณแบบมีขั้นตอน กำหนดระดับนัยสำคัญทางสถิติที่ระดับ 0.05 ผลการวิจัย พบว่า 1. ผู้ปฏิบัติงานมีการจัดการทรัพยากรมนุษย์อยู่ในระดับมาก (ค่าเฉลี่ย 3.77 คะแนน) เมื่อพิจารณาเป็นรายด้าน พบว่า ทุกด้านอยู่ในระดับมาก ประกอบด้วย การประเมินผลการปฏิบัติงาน ความปลอดภัยและสุขภาพ การสรรหาและคัดเลือกทรัพยากรมนุษย์ การวางแผนทรัพยากรมนุษย์ การฝึก อบรมและการพัฒนาทรัพยากรมนุษย์ และค่าตอบแทนและผลประโยชน์อื่น (ค่าเฉลี่ย 4.04, 4.02, 3.78, 3.74, 3.67 และ 3.36 คะแนน ตามลำดับ) 2. ผู้ปฏิบัติงานมีประสิทธิภาพการปฏิบัติงานอยู่ในระดับมาก (ค่าเฉลี่ย 4.02 คะแนน) เมื่อพิจารณาเป็นรายด้าน พบว่า ทุกด้านอยู่ในระดับ มาก ประกอบด้วย ค่าใช้จ่าย เวลาปฏิบัติงาน ปริมาณงาน และคุณภาพงาน (ค่าเฉลี่ย 4.09, 4.06, 3.99 และ 3.96 คะแนน ตามลำดับ) 3. ผู้ปฏิบัติงานที่มีระดับการศึกษา และสถานภาพของบุคลากรแตกต่าง กันมีความคิดเห็นต่อประสิทธิภาพการปฏิบัติงานไม่แตกต่างกัน ส่วนผู้ปฏิบัติ งานที่มีเพศ อายุ และระยะเวลาปฏิบัติงานแตกต่างกันมีความคิดเห็นต่อ ประสิทธิภาพการปฏิบัติงานแตกต่างกันอย่างมีนัยสำคัญทางสถิติที่ระดับ 0.05 4. การจัดการทรัพยากรมนุษย์มีความสัมพันธ์เชิงบวกกับประสิทธิภาพ การปฏิบัติงานอย่างมีนัยสำคัญทางสถิติที่ระดับ 0.05 โดยมีความสัมพันธ์กันต่ำ (r = 0.186) 5. การจัดการทรัพยากรมนุษย์มีอิทธิพลต่อประสิทธิภาพการปฏิบัติ งาน สามารถร่วมพยากรณ์ได้ดี ประกอบด้วย การวางแผนทรัพยากรมนุษย์ (X1) การประเมินผลการปฏิบัติงาน (X6) ความปลอดภัยและสุขภาพ (X5) และค่า ตอบแทนและผลประโยชน์อื่น (X4) ตามลำดับ โดยมีค่าสัมประสิทธิ์สหสัมพันธ์ พหุคูณ (R) เท่ากับ 0.599 ค่าประสิทธิภาพการทำนาย (R2) เท่ากับ 0.359 สามารถทำนายประสิทธิภาพการปฏิบัติงานโดยรวม ได้ร้อยละ 35.9 มีค่าคงที่ของสมการพยากรณ์ เท่ากับ 3.51 อย่างมีนัยสำคัญทางสถิติที่ระดับ 0.05 และ สร้างสมการได้ดังนี้ สมการพยากรณ์ในรูปคะแนนดิบ Y/ = 3.51 + 0.19 (X1) 0.39 (X6) + -0.55 (X5) + 0.14 (X4) สมการพยากรณ์ในรูปคะแนนมาตรฐาน Z/ = 0.26 (X1) + 0.73 (X6) + -0.85 (X5) + 0.30 (X4)en_US
dc.description.abstractThe objective of this research was to study the level of human resource management and work efficiency in comparison to personal factors, to study the relationship between the level of human resource management and work efficiency, and to study the effect of human resource management on work efficiency. The sample in this study include the supportive staff of Mahidol University, total 362 persons., selected via simple random sampling and determine the sample size via Taro Yamane formular. Stratified random sampling is employed to select the sample according to the proportions of the staff according to their affiliation. The data collection tool in this study is the structured questionnaire with 0.96 reliability, and analyzed the data using the statistical approaches of mean, percentage, average, standard deviation, t Test, F test, Pearson’s product moment correlation, and Stepwise Multiple Regression Analysis at p=0.05. 1. The overall level of human resource management in participants is in a high level (3.77). When each aspect which are performance evaluation, safety and security, recruit and selection, planning, training and development, and payment and entitlements are considered, the level of management in each aspect is also found to be high. (Average of 4.04, 4.02, 3.78, 3.74, 3.67 and 3.36, respectively) 2. The overall level of work efficiency in participants is in a high level (4.02). When each aspect is considered, the level of efficiency is high level in all aspects, which are expense, work time, workload, and quality of work. (Average of 4.09, 4.06, 3.99 and 3.96, respectively) 3. Difference in education and personnel status do not lead to difference in work efficiency, while difference in gender, age, and word period all have significant difference on work efficiency at p = 0.05. 4. Human resource management has positive relationship with work efficiency at p = 0.05, and with the low relationship value of r = 0.186. 5. Human resource management affects work efficiency and can be a good indicator to use in prediction, these factors include : human resource planning (X1), performance evaluation (X6), safety and security (X5) and payment and entitlements (X4) respectively, with the R value of 0.599, and (R2) of 0.359. The equation could be used to predict the overall work efficiency with 35.9% accuracy, with the predictive equation constant of 3.51 at p = 0.05 and the equations could be derived as follows : Raw Score Predictive Equation Y/ = 3.51 + 0.19 (X1) 0.39 (X6) + -0.55 (X5) + 0.14 (X4) Standard Score Predictive Equation Z/ = 0.26 (X1) + 0.73 (X6) + -0.85 (X5) + 0.30 (X4)en_US
dc.identifier.citationวารสารสังคมศาสตร์บูรณาการ. ปีที่ 5, ฉบับที่ 2 (ก.ค.-ธ.ค. 2561), 274-306en_US
dc.identifier.issn2350-983x
dc.identifier.urihttps://repository.li.mahidol.ac.th/handle/20.500.14594/43956
dc.language.isothaen_US
dc.rightsมหาวิทยาลัยมหิดลen_US
dc.rights.holderคณะวิทยาศาสตร์ มหาวิทยาลัยมหิดลen_US
dc.subjectวารสารสังคมศาสตร์บูรณาการen_US
dc.subjectIntegrated Social Science Journalen_US
dc.subjectการจัดการทรัพยากรมนุษย์en_US
dc.subjectประสิทธิภาพการปฏิบัติงานen_US
dc.subjectผู้ปฏิบัติงานตำแหน่งประเภทสนับสนุนen_US
dc.subjectมหาวิทยาลัยมหิดลen_US
dc.subjectนักทรัพยากรบุคคล
dc.subjectนักทรัพยากรบุคคล
dc.subjectเจ้าหน้าที่บริหารงานทั่วไป
dc.titleการจัดการทรัพยากรมนุษย์ที่ส่งผลต่อประสิทธิภาพการปฏิบัติงานของผู้ปฏิบัติงานตำแหน่งประเภทสนับสนุน มหาวิทยาลัยมหิดลen_US
dc.title.alternativeHuman Resource Management Factors Affecting the Work Efficiency of Supportive Staff of Mahidol Universityen_US
dc.typeArticleen_US
dspace.entity.typePublication
mods.location.urlhttps://www.tci-thaijo.org/index.php/isshmu/article/view/159766/115453

Files

Original bundle

Now showing 1 - 1 of 1
Thumbnail Image
Name:
sc-ar-aphisit-2561-2.pdf
Size:
9.57 MB
Format:
Adobe Portable Document Format

License bundle

Now showing 1 - 1 of 1
No Thumbnail Available
Name:
license.txt
Size:
1.71 KB
Format:
Item-specific license agreed upon to submission
Description:

Collections