Publication: Postmenopausal Osteoporosis in Relation to Toll-like Receptor-7 and HLA DQB1 Gene Expression on Peripheral Blood Mononuclear Cells
Issued Date
2016
Resource Type
Language
eng
ISSN
0125-3611 (Print)
2651-0561 (Online)
2651-0561 (Online)
Rights
Mahidol University
Rights Holder(s)
Research and Innovation Faculty of Medicine Ramathibodi Hospital Mahidol University
Department of Obstetrics and Gynecology Faculty of Medicine Ramathibodi Hospital Mahidol University
Department of Medicine Faculty of Medicine Ramathibodi Hospital Mahidol University
Department of Obstetrics and Gynecology Faculty of Medicine Ramathibodi Hospital Mahidol University
Department of Medicine Faculty of Medicine Ramathibodi Hospital Mahidol University
Bibliographic Citation
Ramathibodi Medical Journal. Vol. 39, No. 1 (Jan-Mar 2016), 45-54
Suggested Citation
Wanwisa Waiyaput, Mayuree Jirapinyo, Charnchai Suchartwattanachai, Boonsong Ongphiphadhanakul, Somphoch Pumipichet, Areepan Sophonsritsuk, วรรณวิสา ไวยพุฒ, มยุรี จิรภิญโญ, ชาญชัย สุชาติวัฒนชัย, บุญส่ง องค์พิพัฒนกุล, สมโภช ภูมิพิเชฐ, อารีย์พรรณ โสภณสฤษฎ์สุข Postmenopausal Osteoporosis in Relation to Toll-like Receptor-7 and HLA DQB1 Gene Expression on Peripheral Blood Mononuclear Cells. Ramathibodi Medical Journal. Vol. 39, No. 1 (Jan-Mar 2016), 45-54. Retrieved from: https://repository.li.mahidol.ac.th/handle/20.500.14594/79597
Research Projects
Organizational Units
Authors
Journal Issue
Thesis
Title
Postmenopausal Osteoporosis in Relation to Toll-like Receptor-7 and HLA DQB1 Gene Expression on Peripheral Blood Mononuclear Cells
Alternative Title(s)
การศึกษาการแสดงออกของ Toll-like receptor 7 และ HLA DQB1 ในเซลล์เม็ดเลือดขาวและภาวะกระดูกพรุนที่มีสาเหตุจากการหมดประจำเดือน
Abstract
Background: Data from genome wide association study have demonstrated that the toll-like receptor-7 gene (TLR7), a well-known role in innate immunity, may participate in the development of postmenopausal osteoporosis. The HLA DQB1 gene is part of human leukocyte antigen (HLA) complex. HLA DQB1 plays a critical role in the immune system.
Objective: To determine the association of postmenopausal osteoporosis and transcripts of TLR7 and HLA DQB1 from peripheral blood mononuclear cells (PBMCs).
Methods: The study groups included 25 postmenopausal women with normal bone mineral density (BMD) and the other 25 women with osteoporosis. Blood was drawn from the subjects for bone markers and PBMCs preparation. RNA was then isolated and quantitative RT-PCR was performed for TLR7 and HLA DQB1 genes.
Results: PBMCs expression of both TLR7 and HLA DQB1 were not significantly different between postmenopausal women with normal BMD and those with osteoporosis. (P = 0.567 and P = 0.248, respectively).
Conclusions: It is unlikely that TLR7 and HLA DQB1 contribute a major role on postmenopausal osteoporosis in Thai women.
บทนำ: จากการศึกษาวิจัยความสัมพันธ์ของยีนพบว่ายีนที่ควบคุมการสร้าง TLR7 มีความสัมพันธ์กับการเกิดภาวะมวลกระดูกต่ำในสตรีที่หมดประจำเดือนแล้ว ส่วนยีน HLA DQB1 มีการรายงานพบว่ามีความเกี่ยวข้องกับโรคที่เกี่ยวข้องกับระบบภูมิคุ้มกัน วัตถุประสงค์: เพื่อศึกษาการแสดงออกของยีน TRL7 และ HLA DQB1 จากเม็ดเลือดขาวซึ่งเปรียบเทียบระหว่างสตรีหมดประจำเดือนที่มีภาวะกระดูกพรุน และสตรีหมดประจำเดือนที่มีภาวะมวลกระดูกปกติ วิธีการศึกษา: กลุ่มการศึกษาแบ่งเป็น 2 กลุ่ม กลุ่มละ 25 ราย คือสตรีหมดประจำเดือนที่มีภาวะกระดูกพรุน และสตรีหมดประจำเดือนที่มีภาวะมวลกระดูกปกติโดยแบ่งกลุ่มจากการวัดค่าความหนาแน่นของมวลกระดูก และทำการแยกเซลล์เม็ดเลือดขาวเพื่อสกัดอาร์เอ็นเอและนำไปใช้ศึกษาการแสดงออกของยีน TRL7 และ HLA DQB1 โดยใช้เทคนิค Quantitative RT-PCR ผลการศึกษา: การศึกษาการแสดงออกของยีน TRL7 และ HLA DQB1 ไม่มีความแตกต่างอย่างมีนัยสำคัญระหว่างกลุ่มสตรีหมดประจำเดือนที่มีภาวะกระดูกพรุน และสตรีหมดประจำเดือนที่มีภาวะมวลกระดูกปกติ (P = 0.567 และ P = 0.248 ตามลำดับ) สรุป: ยีน TRL7 และ HLA DQB1 ไม่น่าจะมีบทบาทในการควบคุมภาวะกระดูกพรุนในกลุ่มสตรีหมดประจำเดือนชาวไทย
บทนำ: จากการศึกษาวิจัยความสัมพันธ์ของยีนพบว่ายีนที่ควบคุมการสร้าง TLR7 มีความสัมพันธ์กับการเกิดภาวะมวลกระดูกต่ำในสตรีที่หมดประจำเดือนแล้ว ส่วนยีน HLA DQB1 มีการรายงานพบว่ามีความเกี่ยวข้องกับโรคที่เกี่ยวข้องกับระบบภูมิคุ้มกัน วัตถุประสงค์: เพื่อศึกษาการแสดงออกของยีน TRL7 และ HLA DQB1 จากเม็ดเลือดขาวซึ่งเปรียบเทียบระหว่างสตรีหมดประจำเดือนที่มีภาวะกระดูกพรุน และสตรีหมดประจำเดือนที่มีภาวะมวลกระดูกปกติ วิธีการศึกษา: กลุ่มการศึกษาแบ่งเป็น 2 กลุ่ม กลุ่มละ 25 ราย คือสตรีหมดประจำเดือนที่มีภาวะกระดูกพรุน และสตรีหมดประจำเดือนที่มีภาวะมวลกระดูกปกติโดยแบ่งกลุ่มจากการวัดค่าความหนาแน่นของมวลกระดูก และทำการแยกเซลล์เม็ดเลือดขาวเพื่อสกัดอาร์เอ็นเอและนำไปใช้ศึกษาการแสดงออกของยีน TRL7 และ HLA DQB1 โดยใช้เทคนิค Quantitative RT-PCR ผลการศึกษา: การศึกษาการแสดงออกของยีน TRL7 และ HLA DQB1 ไม่มีความแตกต่างอย่างมีนัยสำคัญระหว่างกลุ่มสตรีหมดประจำเดือนที่มีภาวะกระดูกพรุน และสตรีหมดประจำเดือนที่มีภาวะมวลกระดูกปกติ (P = 0.567 และ P = 0.248 ตามลำดับ) สรุป: ยีน TRL7 และ HLA DQB1 ไม่น่าจะมีบทบาทในการควบคุมภาวะกระดูกพรุนในกลุ่มสตรีหมดประจำเดือนชาวไทย