Publication: ความสมดุุลระหว่างชีวิตและการทำงานกับประสิทธิผลของการปฏิบัติงานของแพทย์ประจำบ้านต่อยอดและแพทย์ประจำบ้าน ภาควิชาออร์โธปิดิกส์ คณะแพทยศาสตร์โรงพยาบาลรามาธิบดีมหาวิทยาลัยมหิดล
Issued Date
2567
Resource Type
Resource Version
Accepted Manuscript
Language
tha
File Type
application/pdf
ISSN
0125-3611 (Print)
2651-0561 (Online)
2651-0561 (Online)
Journal Title
รามาธิบดีเวชสาร
Volume
47
Issue
2
Start Page
34
End Page
45
Access Rights
open access
Rights
ผลงานนี้เป็นลิขสิทธิ์ของมหาวิทยาลัยมหิดล ขอสงวนไว้สำหรับเพื่อการศึกษาเท่านั้น ต้องอ้างอิงแหล่งที่มา ห้ามดัดแปลงเนื้อหา และห้ามนำไปใช้เพื่อการค้า
Rights Holder(s)
ภาควิชาออร์โธปิดิกส์ คณะแพทยศาสตร์โรงพยาบาลรามาธิบดี มหาวิทยาลัยมหิดล
Bibliographic Citation
รามาธิบดีเวชสาร. ปีที่ 47, ฉบับที่ 2 (เม.ย.-มิ.ย. 2567), 34-45
Suggested Citation
เยาวเรศ แตงโสภา, ภัทรวัณย์ วรธนารัตน์, ชนิกา อังสนันท์สุข, ศิวดล วงค์ศักดิ์, Yaowaret Tangsopa, Patarawan Woratanarat, Chanika Angsanuntsukh, Siwadol Wongsak ความสมดุุลระหว่างชีวิตและการทำงานกับประสิทธิผลของการปฏิบัติงานของแพทย์ประจำบ้านต่อยอดและแพทย์ประจำบ้าน ภาควิชาออร์โธปิดิกส์ คณะแพทยศาสตร์โรงพยาบาลรามาธิบดีมหาวิทยาลัยมหิดล. รามาธิบดีเวชสาร. ปีที่ 47, ฉบับที่ 2 (เม.ย.-มิ.ย. 2567), 34-45. 45. สืบค้นจาก: https://repository.li.mahidol.ac.th/handle/20.500.14594/110050
Research Projects
Organizational Units
Authors
Journal Issue
Thesis
Title
ความสมดุุลระหว่างชีวิตและการทำงานกับประสิทธิผลของการปฏิบัติงานของแพทย์ประจำบ้านต่อยอดและแพทย์ประจำบ้าน ภาควิชาออร์โธปิดิกส์ คณะแพทยศาสตร์โรงพยาบาลรามาธิบดีมหาวิทยาลัยมหิดล
Author's Affiliation
Abstract
บทนำ: แพทย์ประจำบ้านต่อยอดและแพทย์ประจำบ้านของภาควิชาออร์โธปิดิกส์ปฏิบัติงานอย่างต่อเนื่องตลอดระยะเวลาการฝึกอบรม ความสมดุลระหว่างชีวิตและการปฏิบัติงานอาจส่งผลถึงประสิทธิผลในการปฏิบัติงาน
วัตถุประสงค์: เพื่อศึกษาและเปรียบเทียบระดับความสมดุลระหว่างชีวิตและการทำงาน และประสิทธิผลการปฏิบัติงานของแพทย์ประจำบ้านต่อยอด และแพทย์ประจำบ้าน ภาควิชาออร์โธปิดิกส์ คณะแพทยศาสตร์โรงพยาบาลรามาธิบดี มหาวิทยาลัยมหิดล ปีการศึกษา 2565
วิธีการศึกษา: กลุ่มตัวอย่างตอบแบบสอบถาม 54 ข้อ มี 3 ส่วน ได้แก่ คุณลักษณะของผู้ตอบแบบสอบถาม (เพศ สถานภาพสมรส และระดับรายได้) ระดับความสมดุลระหว่างชีวิตและการทำงาน 4 ด้าน (การทำงาน สังคม ชีวิตส่วนตัว และเศรษฐกิจ) ประสิทธิผลการปฏิบัติงาน 2 ด้าน (ผลสัมฤทธิ์ และพฤติกรรมการปฏิบัติงาน) วิเคราะห์ข้อมูลคุณลักษณะของผู้ตอบแบบสอบถาม วิเคราะห์ความแตกต่างของสมดุลระหว่างชีวิตและการทำงานของแพทย์ประจำบ้านต่อยอดและแพทย์ประจำบ้านทั่วไป ด้วยการวิเคราะห์ความแปรปรวน (Analysis of Variance) และวิเคราะห์ความสัมพันธ์ระหว่างสมดุลชีวิตและการทำงานกับคุณลักษณะของผู้ตอบแบบสอบถาม และความสัมพันธ์ของสมดุลชีวิตและการทำงานกับประสิทธิผลการปฏิบัติงานด้วยการวิเคราะห์ถดถอยพหุคูณ (Multiple Regression Analysis)
ผลการศึกษา: กลุ่มตัวอย่างแพทย์ประจำบ้านต่อยอด 10 คน และแพทย์ประจำบ้านทั่วไป 36 คน เป็นเพศชาย 39 คน (ร้อยละ 84.80) สถานภาพโสด 36 คน (ร้อยละ 80.00) มีรายได้ 20,001 ถึง 30,000 บาท จำนวน 33 คน (ร้อยละ 71.80) เพศหญิงมีระดับสมดุลระหว่างชีวิตและการทำงานด้านการทำงานและด้านเศรษฐกิจสูงกว่าเพศชาย แพทย์ประจำบ้านต่อยอดมีระดับสมดุลระหว่างชีวิตและการทำงานด้านชีวิตส่วนตัวสูงกว่าแพทย์ประจำบ้านทั่วไปอย่างมีนัยสำคัญ (32.80 และ 38.60 คะแนน, P = .03) ผู้มีรายได้ 30,001 ถึง 40,000 บาท มีระดับสมดุลระหว่างชีวิตและการทำงานด้านการทำงานและด้านชีวิตส่วนตัวสูงที่สุด ผู้สมรสมีประสิทธิผลการปฏิบัติงานด้านพฤติกรรมการปฏิบัติงานสูงกว่าผู้ที่โสด
ระดับสมดุลระหว่างชีวิตและการทำงานแปรผกผันกับระดับรายได้ ประสิทธิผลการปฏิบัติงานด้านผลสัมฤทธิ์แปรผกผันกับระดับสมดุลระหว่างชีวิตและการทำงานด้านสังคมและด้านเศรษฐกิจ
สรุป: การวิเคราะห์ผลการศึกษานี้เพื่อหาสาเหตุและแนวโน้มของประสิทธิผลการปฏิบัติงานอย่างต่อเนื่องในแต่ละปีการศึกษา สามารถใช้เป็นแนวทางกำหนดนโยบายการฝึกอบรมที่ช่วยเสริมสร้างสมดุลระหว่างชีวิตและการทำงานที่ดี นำไปสู่ประสิทธิผลสูงสุดในการปฏิบัติงานได้
Background: Fellows and residents in the Department of Orthopaedics have to work throughout the training program. The work life balance and work performance may affect work efficiency. Objectives: To study and compare work life balance and work performance between fellows and residents in the Department of Orthopaedics, Faculty of Medicine Ramathibodi Hospital, Mahidol University. Methods: Data collection was using a 54-item that divided into 3 parts. Part 1 collected information about the respondents: gender, marital status, and income level. Part 2 assessed work life balance in 4 dimensions: work, social life, personal life, and economy. Part 3 examined the work performance in terms of efficiency and work behavior. Use analysis of variance to analyze the differences of work life balance between resident and fellow, determine the correlation between work life balance and characteristics of respondents, including the correlation between work life balance and work performance by multiple regression analysis. Results: The respondents included 10 fellows and 36 residents. Among them, 39 (84.80%) were male, 36 (80.00%) were single, and 33 (71.80%) had an income between ฿20,001 to ฿30,000. Female had significantly higher work life balance in terms of work and economy compared to male. Fellows had significantly higher work life balance in terms of personal life compared to residents (32.80 and 38.60 points respectively, P = .03). Respondents with an income range of ฿30,001 to ฿40,000 had higher work life balance in terms of work and personal life compared to those in other income levels. Respondents who were married had higher work behavior performance compared to those who were single, and the work life balance inversely correlated with income levels. Conclusions: The study findings can be used to analyze the causes and trends of work performance annually and provide guidance for developing training policies that promote a good work life balance, leading to the highest work performance.
Background: Fellows and residents in the Department of Orthopaedics have to work throughout the training program. The work life balance and work performance may affect work efficiency. Objectives: To study and compare work life balance and work performance between fellows and residents in the Department of Orthopaedics, Faculty of Medicine Ramathibodi Hospital, Mahidol University. Methods: Data collection was using a 54-item that divided into 3 parts. Part 1 collected information about the respondents: gender, marital status, and income level. Part 2 assessed work life balance in 4 dimensions: work, social life, personal life, and economy. Part 3 examined the work performance in terms of efficiency and work behavior. Use analysis of variance to analyze the differences of work life balance between resident and fellow, determine the correlation between work life balance and characteristics of respondents, including the correlation between work life balance and work performance by multiple regression analysis. Results: The respondents included 10 fellows and 36 residents. Among them, 39 (84.80%) were male, 36 (80.00%) were single, and 33 (71.80%) had an income between ฿20,001 to ฿30,000. Female had significantly higher work life balance in terms of work and economy compared to male. Fellows had significantly higher work life balance in terms of personal life compared to residents (32.80 and 38.60 points respectively, P = .03). Respondents with an income range of ฿30,001 to ฿40,000 had higher work life balance in terms of work and personal life compared to those in other income levels. Respondents who were married had higher work behavior performance compared to those who were single, and the work life balance inversely correlated with income levels. Conclusions: The study findings can be used to analyze the causes and trends of work performance annually and provide guidance for developing training policies that promote a good work life balance, leading to the highest work performance.