Publication:
ผลการเรียนรู้การฝึกปฏิบัติงานหลักสูตร วท.ม.สาขาวิชาบริหารสาธารณสุข ในสถานที่ทำงานช่วงการระบาดของโรคโควิด-19

dc.contributor.authorพิศมัย มณีแจ่มใสen_US
dc.contributor.authorฉัตรสุมน พฤฒิภิญโญen_US
dc.contributor.authorสุนิสา คำบุญศรีen_US
dc.contributor.otherมหาวิทยาลัยมหิดล. คณะสาธารณสุขศาสตร์. ภาควิชาบริหารงานสาธารณสุขen_US
dc.date.accessioned2022-06-29T03:24:04Z
dc.date.available2022-06-29T03:24:04Z
dc.date.created2565-06-29
dc.date.issued2565
dc.description.abstractเนื่องจากเกิดภาวะการระบาดของโรคโควิด-19 หลักสูตร วท.ม.สาขาวิชาบริหารสาธารณสุข จึงมีการปรับให้นักศึกษาได้ฝึกงานในที่ทำงาน การวิจัยนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อวัดการรับรู้และผลการเรียนรู้ โดยการประเมินตนเองของนักศึกษาในการฝึกปฏิบัติงานภาคสนาม วิธีการศึกษาใช้ข้อมูลเอกสาร แบบสอบถามออนไลน์จำนวน 25 คน และสัมภาษณ์นักศึกษาทางโทรศัพท์ จำนวน 6 คน การวิเคราะห์ ข้อมูลด้วยสถิติค่าเฉลี่ยและวิเคราะห์เชิงเนื้อหา ผลการศึกษา พบว่า นักศึกษาประเมินตนเองให้คะแนนการรับรู้และผลลัพธ์การเรียนรู้เฉลี่ย สูงสุด 3 ลำดับแรก ได้แก่ นักศึกษาสามารถจัดการแก้ปัญหาและอารมณ์ได้ มีระดับคะแนนเฉลี่ยสูงสุด เท่ากับ 3.67 รองลงมา คือ มีการทำงานเป็นทีม ขณะฝึกงานได้เท่ากับ 3.43 และความสามารถใช้ข้อมูล ของหน่วยงานได้เท่ากับ 3.33 ตามลำดับ ผลการศึกษาทั้งการวิจัยเชิงคุณภาพและปริมาณ พบว่า ในส่วน ของผลการเรียนรู้ ขณะฝึกงานนักศึกษาสามารถควบคุมตนเองในการฝึกงานได้ มีพี่เลี้ยงซึ่งเป็นอาจารย์ที่ จะให้คำแนะนำในที่ทำงาน การฝึกงานต้องระวังทั้งในเรื่องภาวะการระบาด การทำงานที่มีงานประจำอยู่ เท่าเดิม ขณะเดียวกัน จะต้องฝึกงานภาคสนามหลังจากเลิกงาน การฝึกงานของนักศึกษาได้ผลลัพธ์การ เรียนรู้เป็นไปตามคาดหวัง แต่ไม่ทั้งหมด มีข้อเสนอจากนักศึกษาบางส่วนต้องการไปฝึกงานที่หน่วยงาน อื่น เพื่อจะได้เรียนรู้มากกว่าการฝึกในที่ทำงานของตนเอง ข้อเสนอแนะ การจัดการฝึกปฏิบัติภาคสนามในอนาคตควรมีดังนี้ 1) คณะกรรมการบริหาร หลักสูตรควรจัดอาจารย์พี่เลี้ยงที่เหมาะสมให้กับนักศึกษา 2) จัดเวลา/ขยายเวลาเพื่อให้นักศึกษาลด ความเหน็ดเหนื่อย 3) ควรแบ่งนักศึกษาออกเป็น 2 กลุ่ม นักศึกษาควรได้ฝึกในสถานที่ที่ต้องการฝึกในที่ ทำงานตนเองและกลุ่มที่ต้องการฝึกในที่ทำงานอื่นที่มิใช่ที่ทำงานของตนเองเพื่อตอบสนองในการเรียนรู้ แตกต่างกันen_US
dc.description.abstractDue to the outbreak of COVID-19 pandemic, students had to adjusted their internship at their workplaces. This research aimed to measure perceptions and learning outcomes by self-assessment of students in field practice. Research methods were, studying from documents, using an online questionnaire, and telephone interviews with 6 students. The results showed that students’ self-assessment had the 3 highest average scores on: 1) ability to manage problems and emotions, with highest average score of 3.67; 2) teamwork building while on field practice, with the average score of 3.43; 3) ability to use information of his/her organization, with the average score of 3.33 respectively. Results of both qualitative and quantitative researches indicated that, for outcome learning, while in field practicum, students were able to control themselves. There was a mentor who advised in the workplace. Student in field practicum must be careful in terms of epidemic conditions, and working with a full-time job as before. At the same time, students had to do field internship after working hours. The student's internship achieved learning outcomes as expected, but not all. There are some recommendations from students, who wanted to do internships outside of their own workplaces, so they can learn somethings different. Recommendations for the future of field training management are as follows: 1) The curriculum administration committee should arrange appropriate mentors for students; 2) arranging time/expanding time for field internship, so that students would have less stress / fatigue; 3) students should be divided into 2 groups: those who would like to do field practicum in their own workplaces, and those who wish to practice at another places other than their own, in order to achieve different learning needs/outcomes.en_US
dc.identifier.citationวารสารกฎหมายสุขภาพและนโยบายสาธารณสุข. ปีที่ 8, ฉบับที่ 2 (พ.ค.-ส.ค. 2565), 265-280
dc.identifier.issn2697-6285 (Online)
dc.identifier.urihttps://repository.li.mahidol.ac.th/handle/20.500.14594/71988
dc.language.isothaen_US
dc.rightsมหาวิทยาลัยมหิดลen_US
dc.rights.holderภาควิชาบริหารงานสาธารณสุข คณะสาธารณสุขศาสตร์ มหาวิทยาลัยมหิดลen_US
dc.subjectผลการเรียนรู้en_US
dc.subjectการระบาดโควิด-19en_US
dc.subjectการฝึกปฏิบัติงานภาคสนามในสถานที่ทำงานen_US
dc.subjectหลักสูตร วท.ม.สาขาวิชาบริหารสาธารณสุขen_US
dc.titleผลการเรียนรู้การฝึกปฏิบัติงานหลักสูตร วท.ม.สาขาวิชาบริหารสาธารณสุข ในสถานที่ทำงานช่วงการระบาดของโรคโควิด-19en_US
dc.title.alternativeField practice learning outcomes of M.Sc. in Public Health Administration program during the COVID-19 pandemicen_US
dc.typeOriginal Articleen_US
dspace.entity.typePublication
mods.location.urlhttps://so05.tci-thaijo.org/index.php/journal_law/article/view/258562/174283

Files

Original bundle

Now showing 1 - 1 of 1
Thumbnail Image
Name:
ph-ar-pissamai-2565.pdf
Size:
4.01 MB
Format:
Adobe Portable Document Format

License bundle

Now showing 1 - 1 of 1
No Thumbnail Available
Name:
license.txt
Size:
1.71 KB
Format:
Item-specific license agreed upon to submission
Description:

Collections