Publication: Performance of village health volunteers on tuberculosos prevention in Mahachanachai district, Yasothorn province, Thailand
Submitted Date
2010-04
Accepted Date
2010-09
Issued Date
2010
Resource Type
Language
eng
ISSN
1905-1387
Rights
Mahidol University
Rights Holder(s)
ASEAN Institute for Health Development. Mahidol University
Bibliographic Citation
Journal of Public Health and Development. Vol.8, No.3, (2010), 252 - 264
Suggested Citation
Rakwong N, Nopporn Rakwong, นพพร รากวงศ์, Sillabutra J, จุฑาธิป ศีลบุตร, Jutatip Sillabutra, Keiwkarnka B, บุญยง เกี่ยวการค้า Performance of village health volunteers on tuberculosos prevention in Mahachanachai district, Yasothorn province, Thailand. Journal of Public Health and Development. Vol.8, No.3, (2010), 252 - 264. Retrieved from: https://repository.li.mahidol.ac.th/handle/20.500.14594/1642
Research Projects
Organizational Units
Authors
Journal Issue
Thesis
Title
Performance of village health volunteers on tuberculosos prevention in Mahachanachai district, Yasothorn province, Thailand
Alternative Title(s)
การปฎิบัติหน้าที่ของอาสาสมัครสาธารณสุขประจำหมู่บ้านเกี่ยวกับการป้องกันวัณโรคในเขตพื้นที่อำเภอมหาชนะชัย จังหวัดยโสธร ประเทศไทย
Corresponding Author(s)
Other Contributor(s)
Abstract
A cross-sectional descriptive study was conducted to study the
performance of village health volunteers (VHVs) on tuberculosis
(TB) prevention in Mahachanachai district, Yasothon province,
Thailand. The aims of this research were to identify the performance
of VHVs on TB prevention, and independent variables: sociodemographic
factors, psycho-social factors, and social support. The
relationship between independent variables and performance of
VHVs on TB prevention was to identify. There were 315 VHVs in
this study and data was collected at Mahachanachai district.
The results revealed that VHVs had high performance on TB
prevention (56.51%). The role which most of them performed was
to advise the group of TB suspected cases about TB examination
and send sputum samples to a health center (97.46 %). Slightly over
one-half of VHVs (56.83%) had good knowledge, and over
two-thirds of VHVs (69.84%) had high perception towards TB
prevention. The majority (76.51%) of VHVs had high social
support. Based on categories of social support, the most received
support was emotional support, while the least received support was
instrumental support. In addition, VHVs received the most support
from the family members. Significant associations were found
between performance of VHVs and age group, knowledge, and
social support including emotional support, informational support,
and instrumental support.
The results suggest that VHVs’ capacities on TB prevention
should be encouraged by providing a regular refresher training course
to improve their knowledge about TB prevention, and also social
support should be strengthened to VHVs for improving their
performance.
การศึกษาแบบภาคตัดขวาง เพื่อศึกษาการปฎิบัติหน้าที่ของอาสาสมัครสาธารณสุขประจำหมู่บ้าน (อสม.)เกี่ยวกับการป้องกันวัณโรคในเขตพื้นที่อำเภอมหาชนะชัย จังหวัดยโสธร ประเทศไทย งานวิจัยนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อบ่งชี้ถึงปัจจัยด้านลักษณะประชากร สังคม และการสนับสนุนทางด้านสังคม รวมทั้งอธิบายถึงความสัมพันธ์ของปัจจัยดังกล่าวกับการปฏิบัติหน้าที่ของ อสม. เกี่ยวกับป้องกันวัณโรค กลุ่มตัวอย่างในการศึกษาครั้งนี้คือ อสม.จำนวน 315 คน ได้ทำการเก็บข้อมูลที่อำเภอมหาชนะชัย ผลการศึกษาพบว่า ร้อยละ 56.61 ของ อสม. มีระดับการปฏิบัติหน้าที่ในเรื่องการป้องกันวัณโรคในระดับสูง การแนะนำผู้ที่มีอาการสงสัยว่าป่วยเป็นวัณโรคให้เข้ารับการตรวจและส่งเสมหะไปยังสถานีอนามัยเป็นงานที่ อสม.ปฏิบัติมากที่สุด (ร้อยละ 97.46) อสม. มีความรู้ต่อการป้องกันวัณโรคในระดับดีร้อยละ 56.83 และมีการรับรู้ต่อการป้องกันวัณโรคระดับสูงร้อยละ 69.84 อสม.ได้รับการสนับสนุนทางสังคมระดับมากร้อยละ 76.51 โดยได้รับการสนับสนุน อสม.ในการปฏิบัติหน้าที่ในเรื่องการป้องกันวัณโรคมากที่สุด คือ สมาชิกในครอบครัวของ อสม. ปัจจัยที่มีความสัมพันธ์อย่างมีนัยสำคัญทางสถิติกับการปฏิบัติหน้าที่ของ อสม. เกี่ยวกับป้องกันวัณโรค ได้แก่ กลุ่มอายุ ความรู้ และการสนับสนุนด้านสังคม ทั้งด้านจิตใจ ข้อมูลข่าวสาร และวัสดุอุปกรณ์ ผลการศึกษาชี้ให้เห็นว่าควรเพิ่มความสามารถของ อสม.ต่อการป้องกันวัณโรค โดย ให้มีการจัดฝึกอบรมอย่างสม่ำเสมอเพื่อเพิ่มพูนความรู้และเพิ่มการสสนับสนุนทางสังคมเพื่อให้ อสม.มีการปรับปรุงการปฏิบัติหน้าที่ให้ดีขึ้น
การศึกษาแบบภาคตัดขวาง เพื่อศึกษาการปฎิบัติหน้าที่ของอาสาสมัครสาธารณสุขประจำหมู่บ้าน (อสม.)เกี่ยวกับการป้องกันวัณโรคในเขตพื้นที่อำเภอมหาชนะชัย จังหวัดยโสธร ประเทศไทย งานวิจัยนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อบ่งชี้ถึงปัจจัยด้านลักษณะประชากร สังคม และการสนับสนุนทางด้านสังคม รวมทั้งอธิบายถึงความสัมพันธ์ของปัจจัยดังกล่าวกับการปฏิบัติหน้าที่ของ อสม. เกี่ยวกับป้องกันวัณโรค กลุ่มตัวอย่างในการศึกษาครั้งนี้คือ อสม.จำนวน 315 คน ได้ทำการเก็บข้อมูลที่อำเภอมหาชนะชัย ผลการศึกษาพบว่า ร้อยละ 56.61 ของ อสม. มีระดับการปฏิบัติหน้าที่ในเรื่องการป้องกันวัณโรคในระดับสูง การแนะนำผู้ที่มีอาการสงสัยว่าป่วยเป็นวัณโรคให้เข้ารับการตรวจและส่งเสมหะไปยังสถานีอนามัยเป็นงานที่ อสม.ปฏิบัติมากที่สุด (ร้อยละ 97.46) อสม. มีความรู้ต่อการป้องกันวัณโรคในระดับดีร้อยละ 56.83 และมีการรับรู้ต่อการป้องกันวัณโรคระดับสูงร้อยละ 69.84 อสม.ได้รับการสนับสนุนทางสังคมระดับมากร้อยละ 76.51 โดยได้รับการสนับสนุน อสม.ในการปฏิบัติหน้าที่ในเรื่องการป้องกันวัณโรคมากที่สุด คือ สมาชิกในครอบครัวของ อสม. ปัจจัยที่มีความสัมพันธ์อย่างมีนัยสำคัญทางสถิติกับการปฏิบัติหน้าที่ของ อสม. เกี่ยวกับป้องกันวัณโรค ได้แก่ กลุ่มอายุ ความรู้ และการสนับสนุนด้านสังคม ทั้งด้านจิตใจ ข้อมูลข่าวสาร และวัสดุอุปกรณ์ ผลการศึกษาชี้ให้เห็นว่าควรเพิ่มความสามารถของ อสม.ต่อการป้องกันวัณโรค โดย ให้มีการจัดฝึกอบรมอย่างสม่ำเสมอเพื่อเพิ่มพูนความรู้และเพิ่มการสสนับสนุนทางสังคมเพื่อให้ อสม.มีการปรับปรุงการปฏิบัติหน้าที่ให้ดีขึ้น