Publication: Predictors of quality utilization of antenatal care services in Naypyidaw, Myanmar
Issued Date
2015
Resource Type
Language
eng
ISSN
1905-1387
Rights
Mahidol University
Rights Holder(s)
ASEAN Institute for Health Development. Mahidol University
Bibliographic Citation
Journal of Public Health and Development. Vol. 13, No.3 (Sep - Dec 2015), 3-17
Suggested Citation
Wai Mon Soe, Jiraporn Chompikul, Aroonsri Mongkolchati Predictors of quality utilization of antenatal care services in Naypyidaw, Myanmar. Journal of Public Health and Development. Vol. 13, No.3 (Sep - Dec 2015), 3-17. Retrieved from: https://repository.li.mahidol.ac.th/handle/20.500.14594/2422
Research Projects
Organizational Units
Authors
Journal Issue
Thesis
Title
Predictors of quality utilization of antenatal care services in Naypyidaw, Myanmar
Alternative Title(s)
ตัวทำนายของการใช้บริการฝากครรภ์อย่างมีคุณภาพ ในเนปิดอร์ ประเทศพม่า
Other Contributor(s)
Abstract
Information regarding on quality utilization of ANC and associated factors in Myanmar is very limited.
Therefore, this cross-sectional study was conducted to identify factors associated with quality (early and
regular) utilization of ANC among women living in Naypyidaw Region, Myanmar. Multistage cluster
sampling was used to randomly select 375 women aged 18-49 years who had at least one child in previous
six months. They were interviewed face to face with structured questionnaire in May 2015. Chi-square test
and multiple logistic regression were used to examine factors associated with quality utilization of ANC
The results showed 57.1% of women utilized early and regular antenatal care which indicated that they
visited antenatal care services during the first 12 weeks and at least 4 times. Only 57.4% utilized early
antenatal care during the first 12 weeks of pregnancy and majority (86.4%) utilized antenatal care services
at least 4 times. Quality utilization of antenatal care significantly associated withwomen’s age, education,
household size, place of residence, household income, number of pregnancy, number of children, cultural
belief, knowledge, attitude, availability and accessibility, mode of delivery, place of delivery and women’s
autonomy. Women’ autonomy and knowledge remained significant after adjusting for women’s age and
education, place of residence and household income. Women with no autonomy were nearly 3 times (Adj
OR 2.52, 95% CI 1.45-4.40)more likely to not utilize ANC early and regularly.
Health education programs about quality utilization of antenatal care should be targeted to women with
low education, low income and living in rural areas. Implementations of policies focus on quality utilization
of antenatal care and enhancing women’s autonomy need to be promoted.
ข้อมูลของงานวิจัยที่เกี่ยวกับการใช้บริการฝากครรภ์อย่างมีคุณภาพและปัจจัยที่เกี่ยวข้องยังมีน้อยมาก ดังนั้นจึงได้ ทำการวิจัยครั้งนี้ซึ่งเป็นการศึกษาแบบภาคตัดขวางเพื่อสำรวจปัจจัยที่มีความสัมพันธ์กับการใช้บริการฝากครรภ์อย่างมี คุณภาพ (เริ่มใช้บริการเร็ว และสม่ำเสมอ) ในผู้หญิงที่อาศัยอยู่ในเนปิดอร์ ประเทศพม่า โดยใช้แผนการสุ่มตัวอย่างแบบ แบ่งกลุ่มหลายขั้นตอนในการสุ่มเลือกผู้หญิงอายุ 18-49 ปีซึ่งมีบุตรอย่างน้อย 1 คนในช่วง 6 เดือนที่ผ่านมา จำนวน 375 คน ทำการเก็บข้อมูลด้วยวิธีการสัมภาษณ์ด้วยแบบสอบถามแบบมีเค้าโครงในเดือนพฤษภาคม พศ. 2558 วิเคราะห์ข้อมูล โดยใช้การทดสอบไคกำลังสองและการถดถอยลอจิสติคเพื่อค้นหาปัจจัยที่มีความสัมพันธ์กับการใช้บริการฝากครรภ์อย่าง มีคุณภาพ ผลการวิจัยพบว่าร้อยละ 57.1 ของผู้ญิงใช้บริการฝากครรภ์อย่างมีคุณภาพซึ่งหมายถึงเริ่มใช้บริการเร็ว (ภายใน 12 อาทิตย์ที่ตั้งครรภ์) และสม่ำเสมอ (ใช้บริการอย่างน้อย 4 ครั้ง) ร้อยละ 57.4 ของผู้หญิงใช้เริ่มใช้บริการฝากครรภ์เร็วภายใน 12 อาทิตย์ที่ตั้งครรภ์ และส่วนใหญ่ (ร้อยละ 86.4) ใช้บริการฝากครรภ์อย่างน้อย 4 ครั้ง การทดสอบด้วยไคกำลังสอง พบว่าปัจจัยที่มีความสัมพันธ์กับการใช้บริการฝากครรภ์อย่างมีคุณภาพของผู้หญิง อย่างมีนัยสำคัญทางสถิติ ได้แก่อายุของ ผู้หญิง การศึกษา ขนาดของครอบครัว สถานที่อยูอาศัย รายได้ของครอบครัว จำนวนครั้งของการตั้งครรภ์ จำนวนบุตร ความเชื่อทางวัฒนธรรม ความรู้ ทัศนคติ ความพร้อมใช้งานและการเข้าถึงบริการ วิธีการคลอดบุตร สถานที่คลอด และ ความมีอิสรภาพในการตัดสินใจของผู้หญิง เมื่อวิเคราะห์ข้อมูลด้วยการถดถอยลอจิสติกพหุคูณพบว่าปัจจัยที่ยังคงมีความสัมพันธ์กับการใช้บริการฝากครรภ์ อย่างมีคุณภาพได้แก่ความมีอิสิรภาพในการตัดสินใจของผู้หญิง และความรู้ ทั้ง นี้ได้ปรับ อิทธิพลของอายุ การศึกษา สถานที่ อยู่อาศัยรายได้ของครอบครัว พบว่าผู้หญิงที่ไม่มีอิสรภาพในการตัดสินใจมีแนวโน้มที่ไม่ใช้บริการฝากครรภ์อย่างเร็วและ สม่ำเสมอเกือบ 3 เท่า (Adj OR = 2.52, 95% CI = 1.45-4.40) ของผู้หญิงที่มีอิสรภาพในการตัดสินใจ ข้อเสนอแนะจากผลการวิจัยนี้ ควรส่งเสริมโครงการให้ความรู้เกี่ยวกับการใช้บริการฝากครรภ์อย่างเร็วและสม่ำเสมอ ในกลุ่มหญิงที่มีการศึกษาน้อย รายได้น้อย อาศัยในชนบท การดำเนินการของนโยบายควรมุ่งเน้นไปที่การใช้บริการฝาก ครรภ์อย่างเร็วและสม่ำเสมอและควรเสริมสร้างให้ผู้หญิงมีอิสรภาพในการตัดสินใจและดำเนินการเพื่อสุขภาพของตัวเอง
ข้อมูลของงานวิจัยที่เกี่ยวกับการใช้บริการฝากครรภ์อย่างมีคุณภาพและปัจจัยที่เกี่ยวข้องยังมีน้อยมาก ดังนั้นจึงได้ ทำการวิจัยครั้งนี้ซึ่งเป็นการศึกษาแบบภาคตัดขวางเพื่อสำรวจปัจจัยที่มีความสัมพันธ์กับการใช้บริการฝากครรภ์อย่างมี คุณภาพ (เริ่มใช้บริการเร็ว และสม่ำเสมอ) ในผู้หญิงที่อาศัยอยู่ในเนปิดอร์ ประเทศพม่า โดยใช้แผนการสุ่มตัวอย่างแบบ แบ่งกลุ่มหลายขั้นตอนในการสุ่มเลือกผู้หญิงอายุ 18-49 ปีซึ่งมีบุตรอย่างน้อย 1 คนในช่วง 6 เดือนที่ผ่านมา จำนวน 375 คน ทำการเก็บข้อมูลด้วยวิธีการสัมภาษณ์ด้วยแบบสอบถามแบบมีเค้าโครงในเดือนพฤษภาคม พศ. 2558 วิเคราะห์ข้อมูล โดยใช้การทดสอบไคกำลังสองและการถดถอยลอจิสติคเพื่อค้นหาปัจจัยที่มีความสัมพันธ์กับการใช้บริการฝากครรภ์อย่าง มีคุณภาพ ผลการวิจัยพบว่าร้อยละ 57.1 ของผู้ญิงใช้บริการฝากครรภ์อย่างมีคุณภาพซึ่งหมายถึงเริ่มใช้บริการเร็ว (ภายใน 12 อาทิตย์ที่ตั้งครรภ์) และสม่ำเสมอ (ใช้บริการอย่างน้อย 4 ครั้ง) ร้อยละ 57.4 ของผู้หญิงใช้เริ่มใช้บริการฝากครรภ์เร็วภายใน 12 อาทิตย์ที่ตั้งครรภ์ และส่วนใหญ่ (ร้อยละ 86.4) ใช้บริการฝากครรภ์อย่างน้อย 4 ครั้ง การทดสอบด้วยไคกำลังสอง พบว่าปัจจัยที่มีความสัมพันธ์กับการใช้บริการฝากครรภ์อย่างมีคุณภาพของผู้หญิง อย่างมีนัยสำคัญทางสถิติ ได้แก่อายุของ ผู้หญิง การศึกษา ขนาดของครอบครัว สถานที่อยูอาศัย รายได้ของครอบครัว จำนวนครั้งของการตั้งครรภ์ จำนวนบุตร ความเชื่อทางวัฒนธรรม ความรู้ ทัศนคติ ความพร้อมใช้งานและการเข้าถึงบริการ วิธีการคลอดบุตร สถานที่คลอด และ ความมีอิสรภาพในการตัดสินใจของผู้หญิง เมื่อวิเคราะห์ข้อมูลด้วยการถดถอยลอจิสติกพหุคูณพบว่าปัจจัยที่ยังคงมีความสัมพันธ์กับการใช้บริการฝากครรภ์ อย่างมีคุณภาพได้แก่ความมีอิสิรภาพในการตัดสินใจของผู้หญิง และความรู้ ทั้ง นี้ได้ปรับ อิทธิพลของอายุ การศึกษา สถานที่ อยู่อาศัยรายได้ของครอบครัว พบว่าผู้หญิงที่ไม่มีอิสรภาพในการตัดสินใจมีแนวโน้มที่ไม่ใช้บริการฝากครรภ์อย่างเร็วและ สม่ำเสมอเกือบ 3 เท่า (Adj OR = 2.52, 95% CI = 1.45-4.40) ของผู้หญิงที่มีอิสรภาพในการตัดสินใจ ข้อเสนอแนะจากผลการวิจัยนี้ ควรส่งเสริมโครงการให้ความรู้เกี่ยวกับการใช้บริการฝากครรภ์อย่างเร็วและสม่ำเสมอ ในกลุ่มหญิงที่มีการศึกษาน้อย รายได้น้อย อาศัยในชนบท การดำเนินการของนโยบายควรมุ่งเน้นไปที่การใช้บริการฝาก ครรภ์อย่างเร็วและสม่ำเสมอและควรเสริมสร้างให้ผู้หญิงมีอิสรภาพในการตัดสินใจและดำเนินการเพื่อสุขภาพของตัวเอง