Publication:
กลยุทธ์การสร้างเสริมสุขภาพกับการควบคุมยาสูบโดยใช้ชุมชนเป็นฐาน

dc.contributor.authorมณฑา เก่งการพานิชen_US
dc.contributor.authorธราดล เก่งการพานิชen_US
dc.contributor.authorMondha Kengganpanichen_US
dc.contributor.authorTharadol Kengganpanichen_US
dc.contributor.otherมหาวิทยาลัยมหิดล. คณะสาธารณสุขศาสตร์. ภาควิชาสุขศึกษาและพฤติกรรมศาสตร์en_US
dc.date.accessioned2020-12-21T16:05:02Z
dc.date.available2020-12-21T16:05:02Z
dc.date.created2563-12-21
dc.date.issued2559
dc.description.abstractการสร้างเสริมสุขภาพให้เกิดความยั่งยืน โดย 5 กลยุทธ์การสร้างเสริมสุขภาพ ตามข้อเสนอในกฏบัตรออตตาวา ในการประชุมที่เมืองออตตาวา ประเทศแคนาดา ปี พ.ศ.2529 ประกอบด้วย 1) การสร้างนโยบายสาธารณะเพื่อสุขภาพ 2) การสร้างสิ่งแวดล้อมที่เอื้อต่อสุขภาพ 3) การเสริมสร้างกิจกรรมชุมชนให้เข้มแข็ง 4) การพัฒนาทักษะส่วนบุคคล และ 5) การปรับเปลี่ยนระบบบริการสาธารณสุข ซึ่งเมื่อนาไปประยุกต์ใช้เป็นแนวทางในการดำเนินงานควบคุมยาสูบในชุมชนโดยใช้ชุมชนเป็นฐาน ทำให้ชุมชนสามารถจัดการตนเองและระดมการมีส่วนร่วมของผู้มีส่วนได้ส่วนเสียและภาคีเครือข่ายต่างๆ เพื่อเกิดการ เปลี่ยนแปลงพฤติกรรมบุคคลที่เชื่อว่า ปัจจัยด้านสิ่งแวดล้อมทุกระดับตั้งแต่ครอบครัว สังคม ชุมชน องค์กร ระบบบริการสาธารณสุข และนโยบายชุมชนมีอิทธิพลต่อพฤติกรรม นอกจากนี้การเปลี่ยนแปลงพฤติกรรม เสี่ยงที่สำคัญคือ การเปลี่ยนแปลงพฤติกรรมของบุคคลที่ทำให้เกิดการเลิกบุหรี่ ซึ่งส่งผลต่ออัตราการสูบบุหรี่ของชุมชนที่ลดลง และคาดหวังที่จะให้การเลิกสูบบุหรี่ส่งผลต่อการส่งเสริมสุขภาพและการควบคุมปัญหาโรคเรื้อรังในชุมชนได้ในที่สุดen_US
dc.description.abstractHealth promotion to achieve sustainability with five health strategies, according to the proposal in the Ottawa Charter, at a meeting in Ottawa, Canada in 1986, including 1) build healthy public policy, 2) create supportive environment, 3) strengthen community action 4) develop personal skills, and 5) reorient health service. When applied to guide the implementation in tobacco control in community with a community based intervention, it can raise ability of the community to self-management and mobilizing the participation of various stakeholders and partners for behavioral change of individual. The environmental factors of all level, from family, society, community organizations, public health system and its community policy have influence on civil behavior. Futhermore, changing important risk behavior is to change the behavior of individuals who contribute to quit smoking which will impact on decreasing rate of smoking in community. And it also expect to give up the smoking affects the health promotion and control chronic diseases in the community eventually.en_US
dc.identifier.citationวารสารสุขศึกษา. ปีที่ 39, ฉบับที่ 133 (ก.ค.- ธ.ค. 2559), 1-10en_US
dc.identifier.urihttps://repository.li.mahidol.ac.th/handle/20.500.14594/60313
dc.language.isothaen_US
dc.rightsมหาวิทยาลัยมหิดลen_US
dc.rights.holderคณะสาธารณสุขศาสตร์ มหาวิทยาลัยมหิดลen_US
dc.subjectกลยุทธ์การสร้างเสริมสุขภาพen_US
dc.subjectการควบคุมยาสูบen_US
dc.subjectชุมชนเป็นฐานen_US
dc.subjectHealth promotion strategiesen_US
dc.subjectTobacco controlen_US
dc.subjectCommunity based interventionen_US
dc.titleกลยุทธ์การสร้างเสริมสุขภาพกับการควบคุมยาสูบโดยใช้ชุมชนเป็นฐานen_US
dc.title.alternativeHealth Promotion Strategies and Tobacco Control with Community Based Interventionen_US
dc.typeResearch Articleen_US
dspace.entity.typePublication

Files

Original bundle

Now showing 1 - 1 of 1
Thumbnail Image
Name:
ph-ar-mondha-2559.pdf
Size:
863.52 KB
Format:
Adobe Portable Document Format

License bundle

Now showing 1 - 1 of 1
No Thumbnail Available
Name:
license.txt
Size:
1.71 KB
Format:
Item-specific license agreed upon to submission
Description:

Collections