Publication: ผลของโปรแกรมส่งเสริมญาติผู้ดูแลด้านการสื่อสารในผู้ป่วยโรคหลอดเลือดสมองที่มีความบกพร่องด้านการสื่อสารต่อความรู้และการรับรู้ความสามารถแห่งตนของญาติผู้ดูแล
Issued Date
2559
Resource Type
Language
tha
ISSN
0858-9739 (Print)
2672-9784 (Online)
2672-9784 (Online)
Rights
มหาวิทยาลัยมหิดล
Rights Holder(s)
โรงเรียนพยาบาลรามาธิบดี คณะแพทยศาสตร์โรงพยาบาลรามาธิบดี มหาวิทยาลัยมหิดล
Bibliographic Citation
รามาธิบดีพยาบาลสาร. ปีที่ 22, ฉบับที่ 3 (ก.ย.-ธ.ค. 2559), 293-309
Suggested Citation
กรกนก ริมนิล, ศุภร วงศ์วทัญญู, สุปรีดา มั่นคง, Kornkanok Rimnin, Suporn Wongvatunyu, Supreeda Monkong ผลของโปรแกรมส่งเสริมญาติผู้ดูแลด้านการสื่อสารในผู้ป่วยโรคหลอดเลือดสมองที่มีความบกพร่องด้านการสื่อสารต่อความรู้และการรับรู้ความสามารถแห่งตนของญาติผู้ดูแล. รามาธิบดีพยาบาลสาร. ปีที่ 22, ฉบับที่ 3 (ก.ย.-ธ.ค. 2559), 293-309. สืบค้นจาก: https://repository.li.mahidol.ac.th/handle/20.500.14594/47963
Research Projects
Organizational Units
Authors
Journal Issue
Thesis
Title
ผลของโปรแกรมส่งเสริมญาติผู้ดูแลด้านการสื่อสารในผู้ป่วยโรคหลอดเลือดสมองที่มีความบกพร่องด้านการสื่อสารต่อความรู้และการรับรู้ความสามารถแห่งตนของญาติผู้ดูแล
Alternative Title(s)
Effects of the Communication Support Program on the Caregiver’s Knowledge and Self-Efficacy to Care for Stroke Patients with Communication Impairment
Other Contributor(s)
Abstract
การวิจัยครั้งนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อศึกษาผลของโปรแกรมส่งเสริมญาติผู้ดูแลด้าน
การสื่อสารในผู้ป่วยโรคหลอดเลือดสมองที่มีความบกพร่องด้านการสื่อสารต่อความรู้ การรับรู้ความ
สามารถแห่งตน ความคาดหวังผลลัพธ์ และความพึงพอใจของญาติผู้ดูแลต่อโปรแกรมฯที่ได้รับ
กลุ่มตัวอย่างคือ ญาติผู้ดูแลผู้ป่วยโรคหลอดเลือดสมองที่มีความบกพร่องด้านการสื่อสาร จำนวน
30 ราย เลือกกลุ่มตัวอย่างแบบเฉพาะเจาะจง กลุ่มตัวอย่างเข้าร่วมโปรแกรมฯ พัฒนาตาม
แนวคิดทฤษฎีการรับรู้ความสามารถแห่งตนของแบนดูรา และติดตามผลหลังเข้าร่วมโปรแกรมฯ
ในวันที่ 2, 7, และ 14 เครื่องมือที่ใช้ในการวิจัย ประกอบด้วย 1) เครื่องมือสำหรับคัดกรองกลุ่ม
ตัวอย่าง ได้แก่ แบบประเมินความรุนแรงของโรคหลอดเลือดสมอง แบบทดสอบหมวดหมู่ 2) เครื่องมือ
ในการดำเนินการวิจัย ได้แก่ โปรแกรมส่งเสริมญาติผู้ดูแลด้านการสื่อสารในผู้ป่วยโรคหลอดเลือด
สมองที่มีความบกพร่องด้านการสื่อสาร 3) เครื่องมือในการเก็บรวบรวมข้อมูล ได้แก่ แบบประเมิน
ความรู้ แบบประเมินการรับรู้ความสามารถแห่งตน แบบประเมินความคาดหวังผลลัพธ์ และแบบ
ประเมินความพึงพอใจ วิเคราะห์ข้อมูลด้วยสถิติบรรยาย และความแปรปรวนแบบวัดซ้ำ ผลการวิจัย
พบว่า ค่าเฉลี่ยคะแนนความรู้ ค่าเฉลี่ยคะแนนการรับรู้ความสามารถแห่งตน และค่าเฉลี่ยคะแนน
ความคาดหวังผลลัพธ์ของญาติผู้ดูแลก่อนและหลังเข้าร่วมโปรแกรมฯ ในวันที่ 2 วันที่ 7 และวันที่
14 แตกต่างกันอย่างมีนัยสำคัญทางสถิติ และค่าเฉลี่ยคะแนนความพึงพอใจของญาติผู้ดูแลหลังเข้า
ร่วมโปรแกรมฯ ในวันที่ 14 อยู่ในระดับปานกลาง จากผลการศึกษาจึงควรส่งเสริมให้บุคลากรทีม
สุขภาพ นำโปรแกรมไปปรับใช้ในการส่งเสริมญาติผู้ดูแลในการดูแลผู้ป่วยโรคหลอดเลือดสมองตาม
ความเหมาะสมกับบริบท เพื่อให้เกิดประโยชน์สูงสุดแก่ผู้ป่วยโรคหลอดเลือดสมองและญาติผู้ดูแล
The purposes of this quasi-experimental research were to test the effects of the communication support program on the caregivers' knowledge, self-efficacy, outcome expectation of their care, and satisfaction in the program for stroke patients with communication impairments. A sample of 30 family caregivers for stroke patients with communication impairments were recruited by purposive sampling. The communicating support program for caregivers was developed based on Bandura's Self-Efficacy theory. Data were collected on 2nd, 7th , and 14th days after the program. The research instruments consisted of: 1) screening instruments including the Thai version of the National Institutes of Health Stroke Scale and The Set Test; 2) the experimental instruments was the communication support program for caregivers of stroke patients with communication impairment; and 3) the instruments for collecting data including the the Caregiver's Knowledge Test, the Self-Efficacy Scale, the Outcome Expectation Assessment, and Caregiver's Satisfaction Questionaire. Data were analyzed using One-Way Repeated Measures ANOVA statistics. The results revealed that the knowledge, self-efficacy, and outcome expectations of the caregivers of stroke patients were improved significantly after the program finished and there was a moderate level for caregiver's satisfaction with the program. This study suggested that the program may be of benefit for nurses and healthcare team who take care of stroke patients with communication impairments. However, modification to suit the context of each facility may be needed
The purposes of this quasi-experimental research were to test the effects of the communication support program on the caregivers' knowledge, self-efficacy, outcome expectation of their care, and satisfaction in the program for stroke patients with communication impairments. A sample of 30 family caregivers for stroke patients with communication impairments were recruited by purposive sampling. The communicating support program for caregivers was developed based on Bandura's Self-Efficacy theory. Data were collected on 2nd, 7th , and 14th days after the program. The research instruments consisted of: 1) screening instruments including the Thai version of the National Institutes of Health Stroke Scale and The Set Test; 2) the experimental instruments was the communication support program for caregivers of stroke patients with communication impairment; and 3) the instruments for collecting data including the the Caregiver's Knowledge Test, the Self-Efficacy Scale, the Outcome Expectation Assessment, and Caregiver's Satisfaction Questionaire. Data were analyzed using One-Way Repeated Measures ANOVA statistics. The results revealed that the knowledge, self-efficacy, and outcome expectations of the caregivers of stroke patients were improved significantly after the program finished and there was a moderate level for caregiver's satisfaction with the program. This study suggested that the program may be of benefit for nurses and healthcare team who take care of stroke patients with communication impairments. However, modification to suit the context of each facility may be needed