Publication: Midwives' intentions regarding use of ekectronic medical recirds in health centres in Lebak district, Banten province, Indonesia
dc.contributor.author | Aditya Mahendra | en_US |
dc.contributor.author | Mahendra A | en_US |
dc.contributor.author | Silabutra J | en_US |
dc.contributor.author | จุฑาธิป ศีลบุตร | en_US |
dc.contributor.author | Keiwkarnka B | en_US |
dc.contributor.author | บุญยง เกี่ยวการค้า | en_US |
dc.contributor.correspondence | Silabutra J | en_US |
dc.contributor.other | Mahidol University. ASEAN Institute for Health Development | |
dc.date.accessioned | 2012-03-13T01:53:09Z | |
dc.date.accessioned | 2017-04-07T11:17:50Z | |
dc.date.available | 2012-03-13T01:53:09Z | |
dc.date.available | 2017-04-07T11:17:50Z | |
dc.date.created | 2011-04 | |
dc.date.issued | 2011 | |
dc.description.abstract | The objectives of this article are to describe a cross-sectional descriptive study of midwives’ intentions to use electronic medical records (EMR), and to identify their association with various independent variables (i.e. socio-demographic factors, availability and accessibility of EMR, social support, attitude, knowledge of EMR, and subjective norms). The study group compromised 249 midwives who worked in health centres in Lebak district, Banten province, Indonesia. Data was collected using a self-administered questionnaire, and analyzed using descriptive statistics, chi-square tests and multiple logistic regression. The midwives’ ages ranged from 21 to 50 years, with a median age of 32 years. Almost all of them (94.0%) had graduated from an institute higher than basic midwifery school; 59.4% were full-time employees working in health centres without in-patient care; and 62.6% had had computer experience. Most of the midwives had positive attitudes, moderate knowledge, and 51% had high subjective norms scores regarding use of EMR software; 59.8% felt that they had received high technical support; and 68.3% high emotional support, from colleagues, health centre heads and government. This study found that that 67.9% of the midwives intended to use EMR software, and that knowledge of EMR (p-value=0.004, Adj. OR=2.98) and subjective norms (p-value<0.001, Adj. OR=11.58) were significantly associated with intention to use EMR. This suggests that midwives’ colleagues, government and health centre heads who are involved in the daily practices of midwives need to accept and appraise the EMR software positively in order to successfully implement it in Indonesia. The Indonesian Government should provide on the job training and workshops about EMR to increase midwives’ capacity, knowledge and positive attitudes regarding EMR. | |
dc.description.abstract | การศึกษาแบบตัดขวางนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อศึกษาความตั้งใจใช้เวชระเบียนอิเล็กทรอนิกส์และปัจจัยที่มีผลต่อความตั้งใจใช้เวชระเบียนอิเล็กทรอนิกส์ของพยาบาลผดุงครรภ์โดยเก็บข้อมูลพยาบาลผดุงครรภ์จำนวน 249 คน ที่ปฎิบัติงานที่สถานีอนามัยในเมืองเลบัก จังหวัดบันเตน ประเทศอินโดนีเซีย บันเตน ประเทศอินโดนีเซีย ด้วยแบบสอบถาม และวิเคราะห์ข้อมูลโดยใช้สถิติเชิงพรรณนาการทดสอบไคว์สแควร์และการวิเคราะห์ลอจิสติก ผลการศึกษาพบว่า อายุของพยาบาลผดุงครรภ์อยู่ระหว่าง 21-50 ปีโดยมีค่ามัธยฐานของอายุเท่ากับ 32 ปีพยาบาลผดุงครรภ์ส่วนใหญ่จบการศึกษาจากสถาบันการศึกษาในระดับที่สูงกว่าโรงเรียนผดุงครรภ์ (ร้อยละ 94.0) ปฏิบัติงานเต็มเวลาในสถานีอนามัยที่ไม่มีการดูแล ผู้ป่วยใน (ร้อยละ 59.4) และมีประสบการณ์ในการใชเครื่องคอมพิวเตอร์ (ร้อยละ 62.6) พยาบาลผดุงครรภ์ส่วนใหญ่มีระดับทัศนคติในเชิงบวก และมีระดับความรู้ในระดับ ปานกลางร้อยละ 51 ของพยาบาลผดุงครรภ์ มีระดับความคล้อยตามบุคคลอ้างอิงในเรื่องการใช้เวชระเบียนทางสังคมในระดับสูง ร้อยละ 59.8 ของพยาบาลผดุงครรภ์ได้รับการสนับสนุน ด้านเทคโนโลยีและร้อยละ 68.3 ของพยาบาลผดุงครรภ์ได้รับกําลังใจในการใช้เวชระเบียนอิเล็กทรอนิกส์การศึกษาในครั้งนี้ยังพบว่า ร้อยละ 67.9 ของพยาบาลผดุงครรภ์มีความตั้งใจใช้เวชระเบียนทางอิเล็กทรอนิกส์และปัจจัยที่สงผลต่อความตั้งใจใช้เวชระเบียนทาง อิเล็กทรอนิกส์ได้แก่ ระดับความรู้ของพยาบาลผดุงครรภ์ด้านเวชระเบียนอิเล็กทรอนิกส์ (p-value=0.004, Adj. OR=2.98) และระดับบรรทัดฐานของบุคคลอ้างอิงที่มีความสําคัญต่อการใช้เวชระเบียนทางสังคม (p-value<0.001, Adj. OR=11.58) ผลการศึกษาชี้ให้เห็นว่า รัฐบาล เพื่อนร่วมงานและหัวหน้างานของพยาบาลผดุงครรภ์ที่มีส่วนเกี่ยวข้องในการปฏิบัติงานของพยาบาลผดุงครรภ์ต้องยอมรับและเห็นคุณค่าของระบบ เวชระเบียนอิเล็กทรอนิกสซึ่งจะทําใหเกิดความสําเร็จของการนําระบบเวชระเบียนอิเล็กทรอนิกส์ไปใช้อีกทั้งรัฐบาลควรจัดอบรมกี่ยวกับการใช้เวชระเบียนอิเล็กทรอนิกส์เพื่อให้พยาบาลผดุงครรภ์ มีความรู้และทัศนคติเชิงบวก รวมถึงพัฒนาศักยภาพของพยาบาลผดุงครรภ์ในการใช้เวชระบียนอิเล็กทรอนิกส์ | |
dc.identifier.citation | Journal of Public Health and Development. Vol.9, No.3, (2011), 257 - 271 | en_US |
dc.identifier.issn | 1905-1387 | |
dc.identifier.uri | https://repository.li.mahidol.ac.th/handle/20.500.14594/1639 | |
dc.language.iso | eng | en_US |
dc.rights | Mahidol University | en_US |
dc.rights.holder | ASEAN Institute for Health Development. Mahidol University | en_US |
dc.subject | Electronic medical records | en_US |
dc.subject | Intention | en_US |
dc.subject | Midwives | en_US |
dc.subject | Open Access article | en_US |
dc.subject | Journal of Public Health and Development | en_US |
dc.subject | วารสารสาธารณสุขและการพัฒนา | |
dc.title | Midwives' intentions regarding use of ekectronic medical recirds in health centres in Lebak district, Banten province, Indonesia | en_US |
dc.title.alternative | ความตั้งใจใช้เวชระเบียนอิเล็กทรอนิกส์ของพยาบาลผดุงครรภ์ที่ปฎิบัติงานที่สถานีอนามัยในเมืองเลบัก จังหวัดบันเตน ประเทศอินโดนีเซีย | en_US |
dc.type | Article | en_US |
dcterms.dateSubmitted | 2011-05 | |
dspace.entity.type | Publication |
Files
Original bundle
1 - 1 of 1