Publication: ปัจจัยทำนายพฤติกรรมการจัดการโรคเบาหวานด้วยตนเอง
dc.contributor.author | พรรณิภา บุญเทียร | en_US |
dc.contributor.author | อัจฉรียา พ่วงแก้ว | en_US |
dc.contributor.author | อรวรรณ ประภาศิลป์ | en_US |
dc.contributor.author | พักตร์ศิริ เกื้อกูล | en_US |
dc.contributor.author | Pannipa Boontein | en_US |
dc.contributor.author | Autchariya Poungkaew | en_US |
dc.contributor.author | Orawan Praphasil | en_US |
dc.contributor.author | Paksiri Kuakool | en_US |
dc.contributor.other | มหาวิทยาลัยมหิดล. คณะพยาบาลศาสตร์ | en_US |
dc.contributor.other | กระทรวงสาธารณสุข. โรงพยาบาลสมเด็จพระสังฆราชองค์ที่ 19 | en_US |
dc.contributor.other | กระทรวงสาธารณสุข. โรงพยาบาลนภาลัย | en_US |
dc.date.accessioned | 2021-04-20T03:06:34Z | |
dc.date.available | 2021-04-20T03:06:34Z | |
dc.date.created | 2564-04-20 | |
dc.date.issued | 2564 | |
dc.description.abstract | วัตถุประสงค์: เพื่อศึกษาอำนาจการทำนายของตัวแปร การรับรู้ภาวะสุขภาพ สมรรถนะแห่งตน และการสื่อสารระหว่างผู้ป่วยกับเจ้าหน้าที่สุขภาพ ขั้นความพร้อมของการเปลี่ยนแปลงพฤติกรรม และพฤติกรรมการจัดการโรคเบาหวานด้วยตนเอง รูปแบบการวิจัย: การศึกษาความสัมพันธ์เชิงทำนาย วิธีดำเนินการวิจัย: กลุ่มตัวอย่าง คือ ผู้ป่วยโรคเบาหวานที่ไม่มีโรคแทรกซ้อน จำนวน 144 คน ที่มารับบริการที่คลินิกโรคเบาหวานและแผนกผู้ป่วยนอก ในโรงพยาบาลระดับชุมชน จานวน 2 โรงพยาบาล เลือกตัวอย่างด้วยวิธีแบบสะดวก เก็บรวบรวมข้อมูลโดยใช้ชุดของแบบสอบถามประกอบด้วยแบบสอบถามเกี่ยวกับ ข้อมูลทั่วไป การรับรู้ภาวะสุขภาพ สมรรถนะแห่งตน การสื่อสารระหว่างผู้ป่วยกับเจ้าหน้าที่สุขภาพ ขั้นความพร้อมของการเปลี่ยนแปลงพฤติกรรม และพฤติกรรมการจัดการโรคเบาหวานด้วยตนเอง วิเคราะห์ข้อมูลสถิติโดยใช้สถิติเชิงบรรยาย และการสัมประสิทธิ์ถดถอยพหุคูณ ผลการวิจัย: ผลการศึกษาพบว่า ผู้ป่วยโรคเบาหวาน อายุเฉลี่ย 62.49 ปี (SD = 10.91) มีระยะเวลาเป็นโรคเบาหวานมานานเฉลี่ย 9.03 ปี มีพฤติกรรมการจัดการโรคเบาหวานด้วยตนเองโดยรวม (gif.latex?\bar{X} = 85.67, SD = 10.71) คะแนนการรับรู้ภาวะสุขภาพ (gif.latex?\bar{X} = 67.41, SD = 5.23) สมรรถนะแห่งตน (gif.latex?\bar{X} = 201.79, SD = 30.45) สื่อสารระหว่างผู้ป่วยกับเจ้าหน้าที่ (gif.latex?\bar{X} = 85.71, SD = 6.63) และขั้นความพร้อมของการเปลี่ยนแปลงพฤติกรรม (gif.latex?\bar{X} = 25.71, SD = 3.40) อยู่ในระดับสูง ขั้นความพร้อมของการเปลี่ยนแปลงพฤติกรรมเป็นตัวแปรเดียวที่สามารถทำนายพฤติกรรมการจัดการโรคเบาหวานด้วยตนเองได้อย่างมีนัยสาคัญทางสถิติ (β = .69, t = 10.69, p < .01) โดยปัจจัยที่ศึกษาทั้งหมดสามารถร่วมกันอธิบายความแปรปรวนของพฤติกรรมการจัดการโรคเบาหวานด้วยตนเองได้ร้อยละ 53 (adjusted R2 = .53) สรุปและข้อเสนอแนะ: ขั้นความพร้อมในการเปลี่ยนแปลงพฤติกรรมมีอิทธิพลต่อพฤติกรรมการจัดการโรคเบาหวานด้วยตนเอง ดังนั้นพยาบาลและบุคลากรสุขภาพควรประเมินขั้นความพร้อมในการเปลี่ยนแปลงพฤติกรรม และให้การช่วยเหลือที่สอดคล้องตามความพร้อมในการเปลี่ยนแปลงพฤติกรรมของผู้ป่วยโรคเบาหวาน เพื่อให้ผู้ป่วยมีพฤติกรรมการจัดการโรคเบาหวานด้วยตนเองให้เหมาะสมและมีความต่อเนื่อง | en_US |
dc.description.abstract | Purpose: The research aimed to investigate factors predicting self-management in Patients with Type II Diabetes. The study factors included self-efficacy, health perception, patient-provider communication and stage of change for behaviors. Design: Correlational predictive design. Methods: The study sample consisted of 144 patients with type II diabetes without any other complications at NCD clinic and outpatient departments from two community hospitals. A convenience sampling was used for the recruitment. Data were collected using a set of questionnaires including demographic information, health perception, self-efficacy, patient-provider communication, stage of change for behaviors, and self-management questionnaires. Descriptive statistics and multiple regression analysis were used for data analysis. Main findings: The findings showed that an average age of patients with type II diabetes was 62.49 years (SD = 10.91) and their average years of disease duration was 9.03 years. The scores of self-management behavior (gif.latex?\bar{X} = 85.67, SD = 10.71), health perception (gif.latex?\bar{X} = 67.41, SD = 5.23), self-efficacy (gif.latex?\bar{X} = 201.79, SD = 30.45), patient-provider communication (gif.latex?\bar{X} = 85.71, SD = 6.63) and stage of change for behaviors (gif.latex?\bar{X} = 25.71, SD = 3.40) were at high level. The stage of change for behaviors is the only predictor of self-management behaviors in patients with type II diabetes (β = .69, t = 10.69, p < .01); while 53% of the variation in self-management behaviors could be explained by the set of study variables (adjusted R2 = .53) Conclusion and recommendations: The level stage of change for behavior influences self-management behaviors of patients with type II diabetes. Therefore, nurses and health personnel should assess the readiness for behavior change. Then assistance that is tailored to their readiness for behavior change should be provided so that they would be able to establish and maintain self-management behavior appropriately and continuously. | en_US |
dc.identifier.citation | วารสารพยาบาลศาสตร์. ปีที่ 39, ฉบับที่ 1 (ม.ค. - มี.ค. 2564), 13-23 | en_US |
dc.identifier.uri | https://repository.li.mahidol.ac.th/handle/20.500.14594/61978 | |
dc.language.iso | tha | en_US |
dc.rights | มหาวิทยาลัยมหิดล | en_US |
dc.rights.holder | คณะพยาบาลศาสตร์ มหาวิทยาลัยมหิดล | en_US |
dc.subject | การสื่อสาร | en_US |
dc.subject | การรับรู้ | en_US |
dc.subject | สมรรถนะแห่งตน | en_US |
dc.subject | สมรรถนะแห่งตน | en_US |
dc.subject | การจัดการตนเอง | en_US |
dc.subject | ขั้นความพร้อมของการเปลี่ยนแปลง | en_US |
dc.subject | communication | en_US |
dc.subject | perception | en_US |
dc.subject | self-efficacy | en_US |
dc.subject | self-management | en_US |
dc.subject | self-management | en_US |
dc.subject | stage of change | en_US |
dc.subject | วารสารพยาบาลศาสตร์ | en_US |
dc.subject | Journal of Nursing Science | en_US |
dc.subject | Nursing Science Journal of Thailand | en_US |
dc.title | ปัจจัยทำนายพฤติกรรมการจัดการโรคเบาหวานด้วยตนเอง | en_US |
dc.title.alternative | Factors Predicting Self-management Behavior in Patients with Type II Diabetes | en_US |
dc.type | Research Article | en_US |
dspace.entity.type | Publication | |
mods.location.url | https://he02.tci-thaijo.org/index.php/ns/article/view/243540 |