Publication: Development of Scoring System for Screening Colorectal Cancer: An Alternative Access to Health Care Services
Issued Date
2016
Resource Type
Language
eng
ISSN
0125-3611 (Print)
2651-0561 (Online)
2651-0561 (Online)
Rights
Mahidol University
Rights Holder(s)
Department of surgery Faculty of Medicine Ramathibodi Hospital Mahidol University
Faculty of Public Health Thammasat University,
Faculty of Public Health Thammasat University,
Bibliographic Citation
Ramathibodi Medical Journal. Vol. 39, No. 3 (Jul-Sep 2016), 155-162
Suggested Citation
Napaphat Poprom, Chumpon Wilasrusmee, Chakrapan Euanorasetr, Weerapat Suwanthanma, Sirima Mongkolsomlit, ณปภัช โพธิ์พรหม, จุมพล วิลาศรัศมี, จักรพันธ์ เอื้อนรเศรษฐ์, วีรพัฒน์ สุวรรณธรรมา, สิริมา มงคลสัมฤทธิ์ Development of Scoring System for Screening Colorectal Cancer: An Alternative Access to Health Care Services. Ramathibodi Medical Journal. Vol. 39, No. 3 (Jul-Sep 2016), 155-162. Retrieved from: https://repository.li.mahidol.ac.th/handle/20.500.14594/79605
Research Projects
Organizational Units
Authors
Journal Issue
Thesis
Title
Development of Scoring System for Screening Colorectal Cancer: An Alternative Access to Health Care Services
Alternative Title(s)
การพัฒนาระบบคะแนนช่วยคัดกรองโรคมะเร็งลำไส้ใหญ่: ทางเลือกในการเข้าถึงบริการสุขภาพ
Abstract
We aimed to develop a screening scoring scheme for colorectal cancer (CRC). The baseline and clinical information from the patients at the outpatient unit of Surgery Department, Faculty of Medicine Ramathibodi Hospital was used to develop a screening model. A binary logistic regression model was used to identify the independent risk variables and the beta-coefficients and a simple point scoring system was developed. The risk variables scoring system was based on 8 risk parameters: gender, family history of CRC in the first-degree relatives, exercise, bleeding per rectum, abdominal pain, weight loss, low density lipoprotein level and high density lipoprotein. The total score ranged from 0 to 11.5. The likelihood of colorectal cancer in people with low risk (scores < 3) was 1.77, moderate risk (scores 3.0-4.5) was 3.00, almost high risk (scores 4.5-5.5) was 5.91 and high risk patients (scores > 5.5) was 6.50. The receiver operating characteristic (ROC) curve of the study was 0.85 (95% CI 0.81-0.90). Our screening scoring system is simple and easy to use especially in primary care units. However, this study is the primary phase of developing of screening scoring system for colorectal cancer.
วัถตุประสงค์: เพื่อพัฒนาระะบบคะแนนช่วยคัดกรองมะเร็งลำไส้ใหญ่ สำหรับเป็นทางเลือกหนึ่งในการเข้าถึงบริการสุขภาพ รูปแบบการศึกษา case-control study กลุ่มศึกษา (case) คือ ผู้ที่ได้การวินิจฉัยเป็นมะเร็งลำไส้ใหญ่ระยะที่ 1 หรือ 2 และการควบคุม (control) คือผู้ที่ไม่เป็นมะเร็งลำไส้ใหญ่ เก็บข้อมูลที่ภาควิชาศัลยกรรม คณะแพทยศาสตร์โรงพยาบาลรามาธิบดี วิเคาระห์ข้อมูลด้วยสถิติ Binary logistic regression เพื่อค้นหาตัวแปรที่มีผลต่อกาเกิดมะเร็งลำไส้ใหญ่และพัฒนาเป็นระบบคะแนน ทำการทดสอบประสิทธิภาพของระบบคะแนนด้วย ROC curve ผลการศึกษา: พบปัจจัย 8 ชนิด ที่เป็นความเสี่ยงต่อการเกิดโรคมะเร็งลำไส้ใหญ่ คือ เพศ ประวัติครอบครัวในการตรวจพบมะเร็งลำไส้ใหญ่ ประวัติการออกกำลังกาย อาการถ่ายเป็นเลือดเรื้อรัง อาการปวดท้องเรื้อรัง ภาวะน้ำหนักลด ไขมันชนิด LDL และไขมันชนิด HDL คะแนนของระบบคะแนนช่วยคัดกรองมีค่า 0-11.5 คะแนน แบ่งระดับความเสี่ยงออกเป็น 4 ระดับ คือ ความเสี่ยงต่ำมีคะแนนน้อยกว่า 3.0 ความเสี่ยงปานกลางมีคะแนนอยู่ระหว่าง 3.0 - 4.5 ความเสี่ยงสูงมีคะแนนอยู่ระหว่าง 4.5 - 5.5 และความเสี่ยงสูงมากมรคะแนนมากกว่า 5.5 ค่าประสิทธิภาพในการทำนาย เท่ากับร้อยละ 85.42 สรุปผล: ระบบคะแนนช่วยคัดกรองโรคมะเร็งลำไส้ใหญ่ สามารถนำไปใช้ได้ง่าย โดยเฉพาะในระบบสุขภาพขั้นพื้นฐาน เพื่อเป็นทางเลือกในการเข้าถึงบริการทางด้านสาธารณสุข
วัถตุประสงค์: เพื่อพัฒนาระะบบคะแนนช่วยคัดกรองมะเร็งลำไส้ใหญ่ สำหรับเป็นทางเลือกหนึ่งในการเข้าถึงบริการสุขภาพ รูปแบบการศึกษา case-control study กลุ่มศึกษา (case) คือ ผู้ที่ได้การวินิจฉัยเป็นมะเร็งลำไส้ใหญ่ระยะที่ 1 หรือ 2 และการควบคุม (control) คือผู้ที่ไม่เป็นมะเร็งลำไส้ใหญ่ เก็บข้อมูลที่ภาควิชาศัลยกรรม คณะแพทยศาสตร์โรงพยาบาลรามาธิบดี วิเคาระห์ข้อมูลด้วยสถิติ Binary logistic regression เพื่อค้นหาตัวแปรที่มีผลต่อกาเกิดมะเร็งลำไส้ใหญ่และพัฒนาเป็นระบบคะแนน ทำการทดสอบประสิทธิภาพของระบบคะแนนด้วย ROC curve ผลการศึกษา: พบปัจจัย 8 ชนิด ที่เป็นความเสี่ยงต่อการเกิดโรคมะเร็งลำไส้ใหญ่ คือ เพศ ประวัติครอบครัวในการตรวจพบมะเร็งลำไส้ใหญ่ ประวัติการออกกำลังกาย อาการถ่ายเป็นเลือดเรื้อรัง อาการปวดท้องเรื้อรัง ภาวะน้ำหนักลด ไขมันชนิด LDL และไขมันชนิด HDL คะแนนของระบบคะแนนช่วยคัดกรองมีค่า 0-11.5 คะแนน แบ่งระดับความเสี่ยงออกเป็น 4 ระดับ คือ ความเสี่ยงต่ำมีคะแนนน้อยกว่า 3.0 ความเสี่ยงปานกลางมีคะแนนอยู่ระหว่าง 3.0 - 4.5 ความเสี่ยงสูงมีคะแนนอยู่ระหว่าง 4.5 - 5.5 และความเสี่ยงสูงมากมรคะแนนมากกว่า 5.5 ค่าประสิทธิภาพในการทำนาย เท่ากับร้อยละ 85.42 สรุปผล: ระบบคะแนนช่วยคัดกรองโรคมะเร็งลำไส้ใหญ่ สามารถนำไปใช้ได้ง่าย โดยเฉพาะในระบบสุขภาพขั้นพื้นฐาน เพื่อเป็นทางเลือกในการเข้าถึงบริการทางด้านสาธารณสุข