Publication: Prevalence and risk factors for low back pain among oil field workers in Minhla Township, Magway Region, Myanmar
Issued Date
2019
Resource Type
Language
eng
ISSN
1905-1387
Rights
Mahidol University
Rights Holder(s)
Department of Community Medicine Faculty of Medicine Ramathibodi Hospital Mahidol University
ASEAN Institute for Health Development Mahidol University
ASEAN Institute for Health Development Mahidol University
Bibliographic Citation
Journal of Public Health and Development. Vol. 17, No.2 (๋May-Aug 2019), 63-75
Suggested Citation
Hlaing Myo Thu, Jiraporn Chompikul, Bang-on Thepthien, Chathaya Wongrathanandha, ลาย เหมียว ตรู, จิราพร ชมพิกุล, บังอร เทพเทียน, ฉัฐญาณ์ วงศ์รัฐนันท์ Prevalence and risk factors for low back pain among oil field workers in Minhla Township, Magway Region, Myanmar. Journal of Public Health and Development. Vol. 17, No.2 (๋May-Aug 2019), 63-75. Retrieved from: https://repository.li.mahidol.ac.th/handle/20.500.14594/62224
Research Projects
Organizational Units
Authors
Journal Issue
Thesis
Title
Prevalence and risk factors for low back pain among oil field workers in Minhla Township, Magway Region, Myanmar
Alternative Title(s)
ความชุกและปัจจัยเสี่ยงต่ออาการปวดหลังของคนงานในแหล่งน้ำมันในเมืองเมนละ แมกเกว ประเทศพม่า
Abstract
Low back pain is the most common health problem among oil field workers and the leading cause of
disability. A cross-sectional study was conducted to assess prevalence and risk factors for low back pain among
oil field workers in Minhla Township, Magway Region, Myanmar. A multi-stage cluster random sampling was
used to draw a sample of 280 workers. The data collection was conducted at the Nga Naung Mone small-scale
oil field from April to May 2019. Chi-square test and multiple logistic regression were used to examine risk
factors for low back pain.
The prevalence of low back pain among workers was high (83.6%). Only 20.4% of participants had good safety
practices. The significant risk factors detected by the Chi-square tests were knowledge about occupational health
hazards and exposure to lifting heavy materials. However, the socio-demographic factors and other risk factors
were not statistically significantly associated with low back pain. Multiple logistic regression results showed that
the following factors remained significantly associated with having low back pain: knowledge about occupational
health hazards and exposure to lifting heavy materials. After adjusting for other factors, workers who had fair to
poor knowledge about occupational health hazards were 2.32 times more likely to have low back pain than those
who had good knowledge (Adj. OR = 2.32, 95% CI = 1.01 - 4.99).
Prevalence of low back pain was high among small-scale oil field workers, as well as exposure to biomechanical
hazards, especially lifting heavy objects. Most of the workers had inadequate knowledge, attitude and practice.
Educational programs about occupational health and safety should be provided for workers. Moreover, the owners
should supply lifting tools. The Government could play an important role by putting more regulations and controls.
อาการปวดหลังส่วนล่าง (ปวดหลัง) เป็นปัญหาสุขภาพที่พบได้บ่อยในกลุ่มคนทำงานในแหล่งน้ำมัน และ เป็นสาเหตุหลักของความพิการ การศึกษาแบบตัดขวางนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อประเมินความชุกและปัจจัยเสี่ยงต่อ การปวดหลังของคนงานในแหล่งน้ำมันขนาดเล็ก ในเขตเมืองเมนละ แมกเกว ประเทศพม่า โดยใช้การสุ่มตัวอย่าง แบบกลุ่มหลายขั้นตอนเพื่อสุ่มตัวอย่างคนงาน 280 คน การเก็บรวบรวมข้อมูลได้ดำเนินการที่แหล่งน้ำมันขนาด เล็กชื่องะนาวโมนในช่วงเดือนเมษายนถึงพฤษภาคม 2562 วิเคราะห์ข้อมูลด้วยการทดสอบไคสแควร์และการ ถดถอยโลจิสติกพหุคูณเพื่อทดสอบหาปัจจัยเสี่ยงสำหรับอาการปวดหลัง ความชุกของอาการปวดหลังมีค่าสูง (83.6%) มีผู้เข้าร่วมวิจัยเพียง 20.4% เท่านั้นที่มีวิธีปฏิบัติด้านความ ปลอดภัยที่ดี ปัจจัยเสี่ยงของอาการปวดหลังที่สำคัญที่ตรวจสอบพบโดยการทดสอบไคสแควร์ ได้แก่ ความรู้ เกี่ยวกับสิ่งคุกคามสุขภาพจากการประกอบอาชีพ และการยกวัสดุที่หนัก อย่างไรก็ตามไม่พบว่าปัจจัยทางสังคม และประชากร และปัจจัยเสี่ยงที่เกี่ยวข้องอื่นๆ มีความสัมพันธ์กับอาการปวดหลังอย่างมีนัยสำคัญทางสถิติ ผลของ การวิเคราะห์การถดถอยโลจิสติกพหุคูณพบว่า ความรู้เกี่ยวกับสิ่งคุกคามสุขภาพจากการประกอบอาชีพ และการ ยกของหนักยังคงมีความสัมพันธ์อย่างมีนัยสำคัญกับการมีอาการปวดหลัง หลังจากปรับอิทธิพลของปัจจัยอื่นๆ แล้ว คนงานที่มีความรู้ในระดับต่ำถึงระดับปานกลางเกี่ยวกับสิ่งคุกคามสุขภาพจากการประกอบอาชีพ มีโอกาส 2.32 เท่าที่จะมีอาการปวดหลังเมื่อเทียบกับผู้ที่มีความรู้ดี (Adj. OR = 2.32, 95% CI = 1.01 - 4.99) ความชุกของอาการปวดหลังพบได้สูงในคนงานที่แหล่งน้ำมัน เช่นเดียวกับสิ่งคุกคาม โดยเฉพาะการยกของ หนัก คนงานส่วนใหญ่มีความรู้ ทัศนคติ และพฤติกรรมที่ไม่ดีพอ นายจ้างควรจัดการอบรมด้านอาชีวอนามัยและ ความปลอดภัยแก่คนงาน
อาการปวดหลังส่วนล่าง (ปวดหลัง) เป็นปัญหาสุขภาพที่พบได้บ่อยในกลุ่มคนทำงานในแหล่งน้ำมัน และ เป็นสาเหตุหลักของความพิการ การศึกษาแบบตัดขวางนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อประเมินความชุกและปัจจัยเสี่ยงต่อ การปวดหลังของคนงานในแหล่งน้ำมันขนาดเล็ก ในเขตเมืองเมนละ แมกเกว ประเทศพม่า โดยใช้การสุ่มตัวอย่าง แบบกลุ่มหลายขั้นตอนเพื่อสุ่มตัวอย่างคนงาน 280 คน การเก็บรวบรวมข้อมูลได้ดำเนินการที่แหล่งน้ำมันขนาด เล็กชื่องะนาวโมนในช่วงเดือนเมษายนถึงพฤษภาคม 2562 วิเคราะห์ข้อมูลด้วยการทดสอบไคสแควร์และการ ถดถอยโลจิสติกพหุคูณเพื่อทดสอบหาปัจจัยเสี่ยงสำหรับอาการปวดหลัง ความชุกของอาการปวดหลังมีค่าสูง (83.6%) มีผู้เข้าร่วมวิจัยเพียง 20.4% เท่านั้นที่มีวิธีปฏิบัติด้านความ ปลอดภัยที่ดี ปัจจัยเสี่ยงของอาการปวดหลังที่สำคัญที่ตรวจสอบพบโดยการทดสอบไคสแควร์ ได้แก่ ความรู้ เกี่ยวกับสิ่งคุกคามสุขภาพจากการประกอบอาชีพ และการยกวัสดุที่หนัก อย่างไรก็ตามไม่พบว่าปัจจัยทางสังคม และประชากร และปัจจัยเสี่ยงที่เกี่ยวข้องอื่นๆ มีความสัมพันธ์กับอาการปวดหลังอย่างมีนัยสำคัญทางสถิติ ผลของ การวิเคราะห์การถดถอยโลจิสติกพหุคูณพบว่า ความรู้เกี่ยวกับสิ่งคุกคามสุขภาพจากการประกอบอาชีพ และการ ยกของหนักยังคงมีความสัมพันธ์อย่างมีนัยสำคัญกับการมีอาการปวดหลัง หลังจากปรับอิทธิพลของปัจจัยอื่นๆ แล้ว คนงานที่มีความรู้ในระดับต่ำถึงระดับปานกลางเกี่ยวกับสิ่งคุกคามสุขภาพจากการประกอบอาชีพ มีโอกาส 2.32 เท่าที่จะมีอาการปวดหลังเมื่อเทียบกับผู้ที่มีความรู้ดี (Adj. OR = 2.32, 95% CI = 1.01 - 4.99) ความชุกของอาการปวดหลังพบได้สูงในคนงานที่แหล่งน้ำมัน เช่นเดียวกับสิ่งคุกคาม โดยเฉพาะการยกของ หนัก คนงานส่วนใหญ่มีความรู้ ทัศนคติ และพฤติกรรมที่ไม่ดีพอ นายจ้างควรจัดการอบรมด้านอาชีวอนามัยและ ความปลอดภัยแก่คนงาน