Publication: ปัจจัยที่มีความสัมพันธ์กับภาวะซึมเศร้าของวัยรุ่นในสถานสงเคราะห์
dc.contributor.author | ประยูรศรี ศรีจันทร์ | en_US |
dc.contributor.author | พวงเพชร เกษรสมุทร | en_US |
dc.contributor.author | วารีรัตน์ ถาน้อย | en_US |
dc.contributor.author | Prayoonsri Srijan | en_US |
dc.contributor.author | Phuangphet Kaesornsamut | en_US |
dc.contributor.author | Wareerat Thanoi | en_US |
dc.contributor.other | มหาวิทยาลัยมหิดล. คณะพยาบาลศาสตร์ | en_US |
dc.contributor.other | มหาวิทยาลัยมหิดล. คณะพยาบาลศาสตร์. ภาควิชาสุขภาพจิตและการพยาบาลจิตเวชศาสตร์ | en_US |
dc.date.accessioned | 2020-04-17T06:19:53Z | |
dc.date.available | 2020-04-17T06:19:53Z | |
dc.date.created | 2563-04-17 | |
dc.date.issued | 2563 | |
dc.description.abstract | วัตถุประสงค์: เพื่อศึกษาความชุกของภาวะซึมเศร้าและความสัมพันธ์ของเชาวน์ปัญญา การถูกทารุณกรรม ความรู้สึกมีคุณค่าในตนเอง และการสนับสนุนทางสังคมกับภาวะซึมเศร้าของวัยรุ่นในสถานสงเคราะห์ รูปแบบการวิจัย: การวิจัยความสัมพันธ์เชิงบรรยาย วิธีดำเนินการวิจัย: กลุ่มตัวอย่างเป็นวัยรุ่นในสถานสงเคราะห์อายุระหว่าง 10-19 ปี จำนวน 100 คน เก็บข้อมูลในสถานสงเคราะห์จำนวน 4 แห่ง ใช้แบบสอบถามจำนวน 4 ชุด ได้แก่ แบบบันทึกข้อมูลส่วนบุคคล แบบคัดกรองภาวะซึมเศร้าในเด็ก แบบวัดความภาคภูมิใจในตนเองของโรเซนเบิร์กฉบับปรับปรุง และแบบวัดความรู้สึกหลากหลายมิติเกี่ยวกับความช่วยเหลือทางสังคม ฉบับปรับปรุงภาษาไทย วิเคราะห์ข้อมูลด้วยสถิติเชิงพรรณนา สัมประสิทธิ์สหสัมพันธ์ของเพียร์สัน และการทดสอบที ผลการวิจัย: กลุ่มตัวอย่างมีภาวะซึมเศร้าร้อยละ 48 ประวัติถูกทารุณกรรมมีความสัมพันธ์ทางบวกระดับปานกลางกับภาวะซึมเศร้า (r = .409, p < .01) ความรู้สึกมีคุณค่าในตนเองและการสนับสนุนทางสังคมมีความสัมพันธ์ทางลบระดับปานกลาง และระดับน้อยกับภาวะซึมเศร้า (r = - .639, p < .01 และ r = - .313, p < .01 ตามลำดับ) และเชาวน์ปัญญาไม่มีความสัมพันธ์กับภาวะซึมเศร้าของวัยรุ่นในสถานสงเคราะห์ สรุปและข้อเสนอแนะ: ปัจจัยที่มีความสัมพันธ์กับภาวะซึมเศร้าของวัยรุ่นในสถานสงเคราะห์ที่นัยสำคัญ .05 คือ ประวัติถูกทารุณกรรม ความรู้สึกมีคุณค่าในตนเอง และการสนับสนุนทางสังคม จึงควรมีการคัดกรองภาวะซึมเศร้าของวัยรุ่นในสถานสงเคราะห์โดยเฉพาะอย่างยิ่งวัยรุ่นที่มีประวัติถูกทารุณกรรม และการจัดกิจกรรมส่งเสริมสุขภาพจิตสำหรับวัยรุ่นกลุ่มนี้ควรเน้นการส่งเสริมความรู้สึกมีคุณค่าในตนเองและการสนับสนุนทางสังคม เพื่อส่งเสริมสุขภาวะทางจิต และลดอัตราการเกิดโรคซึมเศร้าของวัยรุ่นในสถานสงเคราะห์ | en_US |
dc.description.abstract | Purpose: To examine the prevalence of depression and the relationships of intelligence quotient, history of being abused, self-esteem and social support with depression among adolescents in foster homes. Design: Descriptive correlational study. Methods: The sample consisted of 100 adolescents with 10-19 years of age retrieved from 4 foster homes. Data were collected by using 4 instruments: the demographic questionnaire, the Children’s Depression Inventory, the revised version of the Rosenberg Self-Esteem Scale, and a revised Thai Multi-dimensional Scale of Perceived Social Support. Descriptive statistics, Pearson’s product moment correlation, point bi-serial correlation, and t-test were used for data analysis. Main findings: The findings revealed that the prevalence of depression in this sample was 48 percent. History of being abused was significantly and positively correlated with depression at a moderate level (r = .409, p < .01). Additionally, self-esteem and social-support were negatively correlated with depression at a moderate level and at a low level (r = - .639, p < .01; r = - .313, p < .01, respectively). However, intelligence quotient was not correlated with depression in adolescents in foster homes. Conclusion and recommendations: History of being abused, self-esteem and social support were significantly correlated with depression in adolescents in foster homes. Screening for depression among adolescents in foster homes is highly recommended, especially in adolescents with a history of being abused. Mental health promotion program should be emphasized on self-esteem and social support in order to enhance psychological well-being and reduce a prevalence rate of major depressive disorder among adolescents in foster homes. | en_US |
dc.identifier.citation | วารสารพยาบาลศาสตร์. ปีที่ 38, ฉบับที่ 1 (ม.ค. - มี.ค 2563), 86-98 | en_US |
dc.identifier.uri | https://repository.li.mahidol.ac.th/handle/20.500.14594/54250 | |
dc.language.iso | tha | en_US |
dc.rights | มหาวิทยาลัยมหิดล | en_US |
dc.rights.holder | คณะพยาบาลศาสตร์ มหาวิทยาลัยมหิดล | en_US |
dc.subject | การทารุณกรรม | en_US |
dc.subject | ภาวะซึมเศร้า | en_US |
dc.subject | สถานสงเคราะห์ | en_US |
dc.subject | ความรู้สึกมีคุณค่าในตนเอง | en_US |
dc.subject | การสนับสนุนทางสังคม | en_US |
dc.subject | abuse | en_US |
dc.subject | depression | en_US |
dc.subject | foster home | en_US |
dc.subject | self-esteem | en_US |
dc.subject | social support | en_US |
dc.subject | วารสารพยาบาลศาสตร์ | en_US |
dc.subject | Journal of Nursing Science | en_US |
dc.subject | Nursing Science Journal of Thailand | en_US |
dc.title | ปัจจัยที่มีความสัมพันธ์กับภาวะซึมเศร้าของวัยรุ่นในสถานสงเคราะห์ | en_US |
dc.title.alternative | Factors correlated with Depression among Adolescents in Foster Homes | en_US |
dc.type | Research Article | en_US |
dspace.entity.type | Publication | |
mods.location.url | https://he02.tci-thaijo.org/index.php/ns/article/view/237414/164274 |