Publication: ผลของการบริหารเท้าและข้อเท้าต่อความเร็วในการไหลกลับของเลือดดำบริเวณข้อพับสะโพกในผู้ป่วยกระดููกสะโพกหัก
dc.contributor.author | อาภาพร เปลื้องกลาง | en_US |
dc.contributor.author | สุุชิรา ชัยวิบูลย์ธรรม | en_US |
dc.contributor.author | ปพน สง่าสููงส่ง | en_US |
dc.contributor.author | สุุภนีวรรณ เชาว์วิศิษฐ์ | en_US |
dc.contributor.author | ชินรัตน์ บัวงาม | en_US |
dc.contributor.author | Arphaporn Plueangklang | en_US |
dc.contributor.author | Suchira Chaiviboontham | en_US |
dc.contributor.author | Paphon Sa-ngasoongsong | en_US |
dc.contributor.author | Suphaneewan Jaovisidha | en_US |
dc.contributor.author | Chinnarat Buangam | en_US |
dc.contributor.other | มหาวิทยาลัยมหิดล. คณะแพทยศาสตร์โรงพยาบาลรามาธิบดี. โรงเรียนพยาบาลรามาธิบดี | en_US |
dc.date.accessioned | 2022-07-05T06:14:16Z | |
dc.date.available | 2022-07-05T06:14:16Z | |
dc.date.created | 2565-07-05 | |
dc.date.issued | 2564 | |
dc.description.abstract | การวิจัยในครั้งนี้เปนการวิจัยแบบกึ่งทดลอง กลุ่มเดียววัดซ้ำมีวัตถุประสงค์เพื่อเปรียบเทียบ 1) ความเร็วในการไหลกลับของเลือดดำบริเวณข้อพับสะโพกข้างที่มีภาวะกระดูกสะโพกหักก่อนและหลัง บริหารเท้าและข้อเท้าในแต่ละช่วงเวลา และ 2) เส้นรอบวงต้นขาและน่องของผู้ป่วยกระดูกสะโพกหักที่่ ปฏิบัติตามโปรแกรมการบริหารเท้าและข้อเท้าระหว่างช่วงเวลา โดยใช้กรอบแนวคิดทางสรีรวิทยาการเกิด ลิ่มเลือดในหลอดเลือดดำ เลือกกลุ่มตัวอย่างแบบเฉพาะเจาะจงจำนวน 24 ราย วิเคราะห์ข้อมูลโดยใช้้ สถิิติิบรรยาย สถิติ Friedman test, Wilcoxon Signed-Rank Test, และ One-way repeated measures ANOVA ผลการศึกษาพบว่่า กลุ่มตััวอย่่างทั้งหมดสามารถปฏิบัติตามโปรแกรมการบริหารเท้าและข้อเท้า ที่่กำหนดไว้ได้ความเร็วสูงสุุดและความเร็วเฉลี่ยของการไหลเวียนกลับของเลือดดำบริเวณข้อพับสะโพก ข้างที่มีภาวะกระดูกสะโพกหักหลังได้รับโปรแกรมทันที่ดีขึ้นกว่าก่อนได้รับโปรแกรมและยังคงอยู่จนถึง ณ 5 นาที และ 15 นาที หลังได้รับโปรแกรม เส้นรอบวงน่องไม่เพิ่มขึ้นเมื่อออกจากโรงพยาบาล ผลของ การวิจัยในครั้งนี้แสดงว่าโปรแกรมการบริหารเท้าและข้อเท้าสามารถนำไปใช้เพื่อช่่วยเพิ่มการไหลกลับ ของเลือดดำบริเวณข้อพับสะโพกในผู้ป่วยที่กระดูกสะโพกหักนำไปสู่การป้องกันการเกิดภาวะหลอดเลือด ดำลึกอุดกั้นได้ | en_US |
dc.description.abstract | This quasi-experimental study with one group, repeated-measures design aimed to compare 1) the peak systolic velocity (PSV) and the mean diastolic velocity (MDV) of the common femoral vein before and after foot and ankle exercise (FAE) 2) thigh and calf circumference after FAE in patients with hip fractured in each interval time. The study was guided by the physiology of DVT formation. The sample were 24 patients with fractured hips at Ramathibodi Hospital. The Friedman test, Wilcoxon Signed-Rank Test, and One-way repeated measures ANOVA were used as data analysis. The results showed that 100% of the patients were able to perform foot and ankle exercise (FAE). The PSV and MDV in the common femoral vein on the fractured side after FAE dramatically increase more than before FAE and maintain till 5 and 15 minutes after FAE. The circumference of the calf did not increase at the day of discharge. The results suggest that the FAE could increase blood flow velocity of the common femoral vein in patients with hip fracture leading to prevent DVT. | en_US |
dc.identifier.citation | รามาธิบดีพยาบาลสาร. ปีที่ 27 ฉบับที่ 1 (ม.ค.-เม.ย. 2564), 92-107 | en_US |
dc.identifier.issn | 0858-9739 (Print) | |
dc.identifier.issn | 2672-9784 (Online) | |
dc.identifier.uri | https://repository.li.mahidol.ac.th/handle/20.500.14594/72021 | |
dc.language.iso | tha | en_US |
dc.rights | มหาวิทยาลัยมหิดล | en_US |
dc.rights.holder | โรงเรียนพยาบาลรามาธิบดี คณะแพทยศาสตร์โรงพยาบาลรามาธิบดี มหาวิทยาลัยมหิดล | en_US |
dc.subject | หลอดเลือดดำอุุดกั้้น | en_US |
dc.subject | กระดูกสะโพกหัก | en_US |
dc.subject | การบริหารเท้าและข้อเท้า | en_US |
dc.subject | ความเร็วในการไหลกลับของเลือดบริเวณข้อพับสะโพก | en_US |
dc.subject | Deep vein thrombosis | en_US |
dc.subject | Hip fracture patients | en_US |
dc.subject | Foot and ankle exercise | en_US |
dc.subject | Blood flow velocity of the common femoral vein | en_US |
dc.title | ผลของการบริหารเท้าและข้อเท้าต่อความเร็วในการไหลกลับของเลือดดำบริเวณข้อพับสะโพกในผู้ป่วยกระดููกสะโพกหัก | en_US |
dc.title.alternative | Effect of the Foot and Ankle Exercise on Blood Flow Velocity of the Common Femoral Vein in Patients with Hip Fracture | en_US |
dc.type | Article | en_US |
dspace.entity.type | Publication | |
mods.location.url | https://he02.tci-thaijo.org/index.php/RNJ/article/view/242895/170573 |