Publication: Support Services for Students with Disabilities in Thai Universities: Satisfaction and Needs of Students and Service Providers
Issued Date
2020
Resource Type
Language
eng
Rights
Mahidol University
Rights Holder(s)
Ratchasuda College Mahidol University
Bibliographic Citation
Journal of Ratchasuda College, Research and Development of Persons With Disabilities. Vol. 16, No. 1 (Jan - Jun 2020), 16-32
Suggested Citation
Piyarat Nuchpongsai, Teerasak Srisurakul, Silvia M. Correa-Torres, ปิยะรัตน์ นุชผ่องใส, ธีรศักดิ์ ศรีสุรกุล, ซิลเวีย เอ็ม. คอเรีย-เทอเรส Support Services for Students with Disabilities in Thai Universities: Satisfaction and Needs of Students and Service Providers. Journal of Ratchasuda College, Research and Development of Persons With Disabilities. Vol. 16, No. 1 (Jan - Jun 2020), 16-32. Retrieved from: https://repository.li.mahidol.ac.th/handle/20.500.14594/61269
Research Projects
Organizational Units
Authors
Journal Issue
Thesis
Title
Support Services for Students with Disabilities in Thai Universities: Satisfaction and Needs of Students and Service Providers
Alternative Title(s)
การบริการสนับสนุนนักศึกษาพิการในมหาวิทยาลัยไทย : ความพึงพอใจและ ความต้องการของนักศึกษาและผู้ให้บริการ
Abstract
This study examined administration within Disability Support Service (DSS) offices in Thailand.
Service provision in DSS offices and satisfaction and needs of service providers and students with
disabilities were also explored. A survey that included structured interview questions was administered
to 31 administrators of DSS offices. In addition, a needs and satisfaction questionnaire was used with
73 service providers and 204 students with disabilities who were part of the convenience sample
for this study. Results indicated that most DSS offices in Thai universities are under the supervision
of the Department of Student Affairs and that there is an average of three service providers per
office. It was also found that DSS offices primarily provide Braille translation (67.74%) and
equipment and assistive technology or software rental services (54.84%) for students. The
service that seemed to be provided the least was counseling (19.35%). About 56.58% of service
providers were satisfied with their work while 15.1% and 13.9% expressed dissatisfaction with
university support and allocation of budgets respectively. Most service providers (84.8%) and
students (77.4%) reported satisfaction with scholarships. Both service providers and students
agreed that support for studying abroad is the greatest service need. Findings indicated that Thai
DSS offices serve as one-stop centers and deliver services based on a reactive approach. In order
to improve the disability support services, it is the responsibilities of university, faculty, DSS office,
and student with disabilities and changing policy related to administration and crucial services
that affect students’ successful are proposed.
การศึกษานี้เป็นการศึกษาการบริหารของหน่วยบริการสนับสนุนนักศึกษาพิการ การให้บริการ ความพึงพอใจและความต้องการของผู้ให้บริการและนักศึกษาพิการ โดยการสัมภาษณ์แบบมีโครงสร้างผู้บริหารหน่วยบริการสนับสนุนนักศึกษาพิการ จำนวน 31 คน และแบบสอบถามผู้ให้บริการ จำนวน 73 คน และนักศึกษาพิการ จำนวน 204 คน ซึ่งสมัครใจและมีเวลาในการให้ข้อมูล ผลการศึกษา พบว่า ส่วนใหญ่หน่วยบริการสนับสนุนนักศึกษาพิการในมหาวิทยาลัยของไทยอยู่ภายใต้ความรับผิดชอบของกองกิจการนักศึกษา และมีผู้ให้บริการในหน่วยสนับสนุนนักศึกษาพิการเฉลี่ย 3 คน บริการพื้นฐานของหน่วยบริการสนับสนุนนักศึกษาพิการ ได้แก่ การแปลงอักษรเบรลล์ (67.74%) การให้ยืมอุปกรณ์และเทคโนโลยีสิ่งอำนวยความสะดวกหรือซอฟแวร์ (54.84%) บริการที่จัดให้น้อยที่สุด คือ การให้คำปรึกษา (19.35%) ผู้ให้บริการประมาณ 56.58% มีความพึงพอใจต่อบริการที่จัดให้นักศึกษาพิการ แต่ 15.1% และ 13.9% ของผู้ให้บริการไม่พึงพอใจกับการสนับสนุนของมหาวิทยาลัยและการจัดสรรงบประมาณ ตามลำดับ ผู้ให้บริการ (84.8%) และนักศึกษา (77.4%) ส่วนใหญ่พึงพอใจกับการได้รับทุนการศึกษา ผู้ให้บริการและนักศึกษามีความเห็นตรงกันว่าการสนับสนุนให้นักศึกษาพิการได้ไปศึกษาในต่างประเทศเป็นบริการที่มีความต้องการมากที่สุด จากการศึกษาแสดงให้เห็นว่าหน่วยบริการสนับสนุนนักศึกษาพิการในมหาวิทยาลัยของไทยให้บริการแบบเบ็ดเสร็จและจัดบริการในลักษณะเชิงรับ จึงควรมีการพัฒนางานบริการสนับสนุนนักศึกษาพิการซึ่งเป็นหน้าที่ความรับผิดชอบของมหาวิทยาลัย คณะ หน่วยบริการสนับสนุนนักศึกษาพิการ และนักศึกษาพิการ โดยการปรับเปลี่ยนนโยบายที่เกี่ยวกับการบริหารและการให้บริการที่สำคัญซึ่งจะส่งผลต่อความสำเร็จของนักศึกษา
การศึกษานี้เป็นการศึกษาการบริหารของหน่วยบริการสนับสนุนนักศึกษาพิการ การให้บริการ ความพึงพอใจและความต้องการของผู้ให้บริการและนักศึกษาพิการ โดยการสัมภาษณ์แบบมีโครงสร้างผู้บริหารหน่วยบริการสนับสนุนนักศึกษาพิการ จำนวน 31 คน และแบบสอบถามผู้ให้บริการ จำนวน 73 คน และนักศึกษาพิการ จำนวน 204 คน ซึ่งสมัครใจและมีเวลาในการให้ข้อมูล ผลการศึกษา พบว่า ส่วนใหญ่หน่วยบริการสนับสนุนนักศึกษาพิการในมหาวิทยาลัยของไทยอยู่ภายใต้ความรับผิดชอบของกองกิจการนักศึกษา และมีผู้ให้บริการในหน่วยสนับสนุนนักศึกษาพิการเฉลี่ย 3 คน บริการพื้นฐานของหน่วยบริการสนับสนุนนักศึกษาพิการ ได้แก่ การแปลงอักษรเบรลล์ (67.74%) การให้ยืมอุปกรณ์และเทคโนโลยีสิ่งอำนวยความสะดวกหรือซอฟแวร์ (54.84%) บริการที่จัดให้น้อยที่สุด คือ การให้คำปรึกษา (19.35%) ผู้ให้บริการประมาณ 56.58% มีความพึงพอใจต่อบริการที่จัดให้นักศึกษาพิการ แต่ 15.1% และ 13.9% ของผู้ให้บริการไม่พึงพอใจกับการสนับสนุนของมหาวิทยาลัยและการจัดสรรงบประมาณ ตามลำดับ ผู้ให้บริการ (84.8%) และนักศึกษา (77.4%) ส่วนใหญ่พึงพอใจกับการได้รับทุนการศึกษา ผู้ให้บริการและนักศึกษามีความเห็นตรงกันว่าการสนับสนุนให้นักศึกษาพิการได้ไปศึกษาในต่างประเทศเป็นบริการที่มีความต้องการมากที่สุด จากการศึกษาแสดงให้เห็นว่าหน่วยบริการสนับสนุนนักศึกษาพิการในมหาวิทยาลัยของไทยให้บริการแบบเบ็ดเสร็จและจัดบริการในลักษณะเชิงรับ จึงควรมีการพัฒนางานบริการสนับสนุนนักศึกษาพิการซึ่งเป็นหน้าที่ความรับผิดชอบของมหาวิทยาลัย คณะ หน่วยบริการสนับสนุนนักศึกษาพิการ และนักศึกษาพิการ โดยการปรับเปลี่ยนนโยบายที่เกี่ยวกับการบริหารและการให้บริการที่สำคัญซึ่งจะส่งผลต่อความสำเร็จของนักศึกษา