Publication:
การพัฒนาหลักสูตรท้องถิ่นเรื่องพะยูนและหญ้าทะเล สำหรับโรงเรียนชายฝั่งจังหวัดตรัง

dc.contributor.authorณัฐทิตา โรจนประศาสน์en_US
dc.contributor.authorวิภาวรรณ ตินนังวัฒนะen_US
dc.contributor.authorประเสริฐ ทองหนูนุ้ยen_US
dc.contributor.authorWipawan Tinnunwattanaen_US
dc.contributor.authorNatthita Rojchanaprasarten_US
dc.contributor.authorPraseart Tongnunuien_US
dc.contributor.otherมหาวิทยาลัยมหิดล. คณะสิ่งแวดล้อมและทรัพยากรศาสตร์.en_US
dc.contributor.otherมหาวิทยาลัยเนรศวรen_US
dc.date.accessioned2015-09-18T09:27:23Z
dc.date.accessioned2019-12-23T09:40:59Z
dc.date.available2015-09-18T09:27:23Z
dc.date.available2019-12-23T09:40:59Z
dc.date.created2015-09-18
dc.date.issued2557-04
dc.description.abstractการพัฒนาหลักสูตรท้องถิ่นเรื่องพะยูนและหญ้าทะเลใช้ทฤษฎีเชิงระบบ ประกอบด้วย 1) ปัจจัยนำเข้า (Input) คือ องค์ความรู้เรื่องพะยูนและหญ้าทะเลที่ผสมผสานความรู้ภูมิปัญญาชาวบ้านกับความรู้ทางวิชาการ 2) กระบวนการ (Process) คือ ขั้นตอนการพัฒนาหลักสูตรท้องถิ่นมี 5 ขั้นตอน คือ การสร้างหลักสูตรท้องถิ่น การตรวจสอบหลักสูตรท้องถิ่น การทดลองใช้และนิเทศติดตาม การประเมินหลักสูตรท้องถิ่น และการปรับปรุงแก้ไขหลักสูตรท้องถิ่น 3) ผลผลิต (Output) คือ หลักสูตรท้องถิ่น และครู 4) ผลลัพธ์ (Outcome) คือ นักเรียน ผลการศึกษานำเสนอใน 2 ด้าน ดังนี้ ด้านผลผลิต มี 3 ประเด็น คือ 1) ได้หลักสูตรท้องถิ่นเรื่องพะยูนและหญ้าทะเลที่มีคุณภาพ 2) ความรู้ของครูหลังเข้าร่วมพัฒนาหลักสูตรท้องถิ่น สูงกว่าก่อนเข้าร่วมพัฒนาหลักสูตรท้องถิ่น 3) ครูมีความพึงพอใจต่อหลักสูตรท้องถิ่นเรื่องพะยูนและหญ้าทะเลอยู่ในระดับมาก ส่วนด้านผลลัพธ์ มี 2 ประเด็น คือ 1) ผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนในรายวิชาวิทยาศาสตร์เรื่องพะยูนและหญ้าทะเลของนักเรียนชั้นประถมศึกษาปีที่ 1, 2, 4, 6 (ค่าเฉลี่ย 9.52, 8.31, 8.14, 8.61 ตามลำดับ) และมัธยมศึกษาปีที่ 2 (ค่าเฉลี่ย 7.95) สูงกว่าเกณฑ์ร้อยละ 70 ของคะแนนเต็ม (p=0.000, 0.000, 0.000, 0.000, 0.000 ตามลำดับ) ส่วนผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนของนักเรียนชั้นประถมศึกษาปีที่ 3, 5 (ค่าเฉลี่ย 7.06, 7.25 ตามลำดับ) และชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 1, 3 (ค่าเฉลี่ย 7.12, 7.38 ตามลำดับ) ไม่แตกต่างจากเกณฑ์ (p=0.848, 0.204, 0.588, 0.270 ตามลำดับ) 2) นักเรียนมีความพึงพอใจต่อหลักสูตรท้องถิ่นเรื่องพะยูนและหญ้าทะเลทะเลในระดับมากen_US
dc.description.abstractDevelopment of local curriculum regarding dugong and seagrass was based on system theory which composed of 4 main components: 1) input was dugong and seagrass knowledge which mixed between indigenous and academic knowledge; 2) process was five steps in local curriculum development: creating, verifying, trying out and monitoring, evaluating, and improving local curriculum; 3) outputs were local curriculum and teachers; and 4) outcome was student. Two main results of this study were as follows. In terms of output, there were 3 main findings: 1) local curriculum about dugong and seagrass had good quality; 2) teachers’ knowledge about dugong and seagrass in posttest was higher than the pretest from participation in local curriculum development; and 3) teachers’ satisfaction towards local curriculum about dugong and seagrass was in high level. In terms of outcome, there were 2 main findings: 1) learning achievement in science subject regarding dugong and seagrass of primary students in class 1, 2, 4, 6 (mean 9.52, 8.31, 8.14, 8.61, respectively) (p=0.000, 0.000, 0.000, 0.000, 0.000, respectively) and secondary students in class 2 (mean 7.95) was higher than 70% of total scores, moreover, learning achievement of primary students in class 3, 5 (mean 7.06, 7.25, respectively) and secondary students in class 1, 3 (mean 7.12, 7.38, respectively) was not different from criteria (p=0.848, 0.204, 0.588, 0.270, respectively), and 2) students’ satisfaction towards local curriculum about dugong and seagrass was in high level.
dc.identifier.citationวารสารศึกษาศาสตร์ มหาวิทยาลัยนเรศวร. ปีที่ 16, ฉบับที่ 2 (2557), 35-47.en_US
dc.identifier.issn0859-5127
dc.identifier.urihttps://repository.li.mahidol.ac.th/handle/20.500.14594/48484
dc.language.isothaen_US
dc.rightsMahidol University.en_US
dc.rights.holderวารสารศึกษาศาสตร์ มหาวิทยาลัยนเรศวรen_US
dc.subjectLocal curriculum developmenten_US
dc.subjectDugong and seagrassen_US
dc.subjectCoastal schoolen_US
dc.subjectการพัฒนาหลักสูตรท้องถิ่นen_US
dc.subjectพะยูนและหญ้าทะเลen_US
dc.subjectโรงเรียนชายฝั่งen_US
dc.titleการพัฒนาหลักสูตรท้องถิ่นเรื่องพะยูนและหญ้าทะเล สำหรับโรงเรียนชายฝั่งจังหวัดตรังen_US
dc.title.alternativeDevelopment of local curriculum regarding dugong and seagras coastal school in Trang provinceen_US
dc.typeArticleen_US
dspace.entity.typePublication
mods.location.urlhttp://www.tci-thaijo.org/index.php/edujournal_nu/article/view/17535/15666

Files

License bundle

Now showing 1 - 1 of 1
No Thumbnail Available
Name:
license.txt
Size:
1.71 KB
Format:
Plain Text
Description:

Collections