Publication: อิทธิพลของปัจจัยทางสังคมนิเวศวิทยาต่อพฤติกรรมจิตสาธารณะของนักเรียนอาชีวศึกษา จังหวัดประจวบคีรีขันธ์
Issued Date
2562
Resource Type
Language
tha
ISSN
2697-584X (Print)
2697-5866 (Online)
2697-5866 (Online)
Rights
มหาวิทยาลัยมหิดล
Rights Holder(s)
ภาควิชาอนามัยครอบครัว คณะสาธารณสุขศาสตร์ มหาวิทยาลัยมหิดล
Bibliographic Citation
วารสารสาธารณสุขศาสตร์. ปีที่ 49, ฉบับที่ 1 (ม.ค.-เม.ย. 2562), 45-56
Suggested Citation
เพ็ญประพร สุขธัมรงค์, พิมพ์สุรางค์ เตชะบุญเสริมศักดิ์, สุธรรม นันทมงคลชัย, ศุภชัย ปิติกุลตัง, โชคชัย หมั่นแสวงทรัพย์, Penpraporn Sukthumrong, Pimsurang Taechaboonsermsak, Sutham Nanthamongkolchai, Supachai Pitikultang, Chokchai Munsawaengsub อิทธิพลของปัจจัยทางสังคมนิเวศวิทยาต่อพฤติกรรมจิตสาธารณะของนักเรียนอาชีวศึกษา จังหวัดประจวบคีรีขันธ์. วารสารสาธารณสุขศาสตร์. ปีที่ 49, ฉบับที่ 1 (ม.ค.-เม.ย. 2562), 45-56. สืบค้นจาก: https://repository.li.mahidol.ac.th/handle/20.500.14594/63667
Research Projects
Organizational Units
Authors
Journal Issue
Thesis
Title
อิทธิพลของปัจจัยทางสังคมนิเวศวิทยาต่อพฤติกรรมจิตสาธารณะของนักเรียนอาชีวศึกษา จังหวัดประจวบคีรีขันธ์
Alternative Title(s)
Infl uence of Social Ecological Factors on Public Mind Behavior of Vocational Students in Prachuap Khiri Khan Province
Other Contributor(s)
Abstract
การวิจัยเชิงสำารวจภาคตัดขวางนี้มีวัตถุประสงค์
เพื่อศึกษาปัจจัยทางสังคมวิทยาที่มีอิทธิพลต่อพฤติกรรม
จิตสาธารณะของนักเรียนอาชีวศึกษา กลุ่มตัวอย่าง
จำานวน 354 คน ได้จากการสุ่มตัวอย่างแบบแบ่งชั้นภูมิ
เก็บข้อมูลด้วยแบบสอบถาม และวิเคราะห์ข้อมูลโดยใช้
สัมประสิทธิ์สหสัมพันธ์ของเพียร์สันและการวิเคราะห์
ถดถอยพหุคูณแบบมีขั้นตอน ผลการศึกษาพบว่า
นักเรียนอาชีวศึกษามีพฤติกรรมจิตสาธารณะอยู่ใน
ระดับดี ร้อยละ 65.3 ระดับปานกลาง ร้อยละ 33.3
และควรปรับปรุง ร้อยละ 1.4 โดยพฤติกรรม
จิตสาธารณะมีความสัมพันธ์เชิงบวกกับทัศนคติ
เกี่ยวกับจิตสาธารณะ การอบรมเลี้ยงดู และการเป็น
แบบอย่างด้านจิตสาธารณะของคนในครอบครัว
การเป็นแบบอย่างด้านจิตสาธารณะของครู อิทธิพล
ของกลุ่มเพื่อน การรับรู้การจัดกิจกรรมของสถาบัน
ชุมชน และนโยบายที่ส่งเสริมจิตสาธารณะ ทั้งนี้
ปัจจัยการอบรมเลี้ยงดูและการเป็นแบบอย่างด้าน
จิตสาธารณะของคนในครอบครัว อิทธิพลของกลุ่มเพื่อน
ทัศนคติ การรับรู้การจัดกิจกรรมที่ส่งเสริมจิตสาธารณะ
ของสถาบัน และอายุ สามารถร่วมกันทำานายพฤติกรรม
จิตสาธารณะของนักเรียนอาชีวศึกษาได้ร้อยละ 43.5
งานวิจัยมีข้อเสนอแนะว่า ครอบครัว โรงเรียน และ
หน่วยงานที่เกี่ยวข้องกับนักเรียนควรร่วมกันส่งเสริม
พฤติกรรมจิตสาธารณะของนักเรียน โดยเน้นไปที่การ
อบรมเลีéยงดูและการเป็นแบบอย่างด้านจิตสาธารณะ
ของคนในครอบครัวและเพื่อน รวมถึงการปลูกฝัง
ทัศนคติที่ดีต่อจิตสาธารณะ และการรับรู้กิจกรรมของ
สถาบัน
This cross-sectional survey research aimed to study the infl uence of social ecological factors concerning public mind behavior among vocational students. A total of 354 students were selected using multistage sampling technique. Data were collected using self-administered questionnaires between October and November 2017. Data were analyzed using Pearson’s correlation coeffi cient and stepwise multiple regression. The results revealed that 65.3% of the subjects displayed good public mind behavior, 33.3% were at moderate level and 1.4% at poor level. The public mind behavior is positively associated with attitude, parental role model, teacher role model, friend infl uence, perception of institutional activities, perception of community activities, and perception of public mind policy. In addition, factors predicting the public mind behavior of vocational students included parental role model, friend infl uence, attitude, perception of institutional activities and age. The prediction percentage was 43.5%. Findings from this study recommended that family, school and related organization should cooperate to promote public mind behavior of vocational students by supporting the parental role model, friend infl uence, attitude about public mind and perception of institutional activities.
This cross-sectional survey research aimed to study the infl uence of social ecological factors concerning public mind behavior among vocational students. A total of 354 students were selected using multistage sampling technique. Data were collected using self-administered questionnaires between October and November 2017. Data were analyzed using Pearson’s correlation coeffi cient and stepwise multiple regression. The results revealed that 65.3% of the subjects displayed good public mind behavior, 33.3% were at moderate level and 1.4% at poor level. The public mind behavior is positively associated with attitude, parental role model, teacher role model, friend infl uence, perception of institutional activities, perception of community activities, and perception of public mind policy. In addition, factors predicting the public mind behavior of vocational students included parental role model, friend infl uence, attitude, perception of institutional activities and age. The prediction percentage was 43.5%. Findings from this study recommended that family, school and related organization should cooperate to promote public mind behavior of vocational students by supporting the parental role model, friend infl uence, attitude about public mind and perception of institutional activities.