Publication: Factors related to the perception of preganant women regarding antenatal care in Nakonpathom province, Thailand.
Issued Date
2011
Resource Type
Language
eng
ISSN
1092-7875
Rights
Mahidol University
Rights Holder(s)
ASEAN Institute for Health Development Mahidol University
Bibliographic Citation
Journal of Public Health and Development. Vol.9, No.2 (2011),105-116
Suggested Citation
Iino Yuka, Sillabutra J,, Chompikul J, Jiraporn Chompikul Factors related to the perception of preganant women regarding antenatal care in Nakonpathom province, Thailand.. Journal of Public Health and Development. Vol.9, No.2 (2011),105-116. Retrieved from: https://repository.li.mahidol.ac.th/handle/20.500.14594/1635
Research Projects
Organizational Units
Authors
Journal Issue
Thesis
Title
Factors related to the perception of preganant women regarding antenatal care in Nakonpathom province, Thailand.
Alternative Title(s)
ปัจจัยที่มีความสัมพันธ์กับการรับรู้เกี่ยวกับการให้บริการฝากครรภ์
ของหญิงตั้งครรภ์ในจังหวัดนครปฐม ประเทศไทย
Author(s)
Other Contributor(s)
Abstract
A cross-sectional study was conducted to determine perceptions
of pregnant women regarding antenatal care (ANC) and their related
factors among pregnant women in Nakhonpathom province, Thailand.
Data were collected from 227 pregnant women using self-administered
questionnaires in January, 2010. Descriptive statistics, Chi-square test
and Multiple logistic regression were used for analysis.
Sixty percent of the pregnant women had positive perceptions regarding ANC. By bivariate analysis, factors significantly associated with
perception of ANC were education level, marital status, knowledge regarding ANC, family support, accessibility to ANC information, and pregnancy intention (P-value < 0.05). By multiple logistic regression analysis,
factors which predicted perceptions on ANC were: knowledge of pregnant
women about ANC and accessibility to ANC information. Knowledge
(Poor: OR = 9.30, 95% CI = 2.63-32.89, Moderate: OR = 4.53, 95%
CI = 2.10-9.76) and fair accessibility of information (OR = 2.12, 95%
CI = 1.303-4.38) were significantly associated with negative perceptions
of ANC.
The findings of this study suggest that knowledge of ANC should
be emphasized and accessibility to information about ANC for pregnant
women should be improved to encourage positive perceptions on ANC.
การศึกษาแบบตัดขวางนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อศึกษาการรับรู้เกี่ยวกับกับการให้บริการฝากครรภ์และปัจจัยที่มีผลต่อการรับรู้เกี่ยวกับการให้การให้บริการฝากครรภ์ของหญิงตั้งครรภ์ในจังหวัดนครปฐม ประเทศไทย โดยเก็บข้อมูลจากหญิงตั้งครรภจํานวน 227 คน โดยใช้แบบสอบถามที่สร้างขึ้น และวิเคราะห์ข้อมูลโดยใช้สถิติเชิงพรรณนา การทดสอบไคว์สแควร์และการวิเคราะห์ลอจิสติก การศึกษาพบว่า หญิงตั้งครรภ์ประมาณร้อยละ 60 มีการรับรู้เชิงบวกต่อการให้บริการฝาก ครรภ์สําหรบการวิเคราะห์ปัจจัยที่มีผลตอการรับรู้ของหญิงตั้งครรภ์เกี่ยวกับการให้บริการฝาก ครรภ์โดยการทดสอบไคว์สแควร์พบว่า ระดับการศึกษา สถานภาพการสมรส ความรู้เกี่ยว กับการให้บริการฝากครรภ์และการได้รับการสนับสนุนจากครอบครัวและการเข้าถึงข้อมูล ด้านบริการฝากครรภ์เป็นปัจจัยที่มีผลต่อการรับรู้เกี่ยวกับการให้บริการฝากครรภ์นอกจากนี้ ผลการวิเคราะห์ลอจิสติกแสดงให้เห็นว่าความรู้ในระดับกลาง (OR = 4.53, 95% CI = 2.10-9.76) ระดับความรู้ในระดับตํ่า (OR = 9.30, 95% CI = 2.63-32.89) และการเข้าถึงข้อมูลด้านบริการฝากครรภ์ในระดับกลาง (OR = 2.12, 95% CI = 1.03-4.38) เป็นปัจจัยที่มีความสัมพันธ์กับการรับรู้เกี่ยวกับการให้บริการฝากครรภ์เชิงลบ ผลการศึกษาชี้ให้เห็นว่า บุคลากรทางสาธารณสุขควรเน้นการให้ความรู้ด้านการใหบริการฝากครรภ์และเพิ่มชองทางการเข้าถึงข้อมูลเกี่ยวกับการให้บริการฝากครรภ์เพื่อให้หญิงตั้งครรภ์มีการรับรู้ในเชิงบวกของการให้บริการฝากครรภ์
การศึกษาแบบตัดขวางนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อศึกษาการรับรู้เกี่ยวกับกับการให้บริการฝากครรภ์และปัจจัยที่มีผลต่อการรับรู้เกี่ยวกับการให้การให้บริการฝากครรภ์ของหญิงตั้งครรภ์ในจังหวัดนครปฐม ประเทศไทย โดยเก็บข้อมูลจากหญิงตั้งครรภจํานวน 227 คน โดยใช้แบบสอบถามที่สร้างขึ้น และวิเคราะห์ข้อมูลโดยใช้สถิติเชิงพรรณนา การทดสอบไคว์สแควร์และการวิเคราะห์ลอจิสติก การศึกษาพบว่า หญิงตั้งครรภ์ประมาณร้อยละ 60 มีการรับรู้เชิงบวกต่อการให้บริการฝาก ครรภ์สําหรบการวิเคราะห์ปัจจัยที่มีผลตอการรับรู้ของหญิงตั้งครรภ์เกี่ยวกับการให้บริการฝาก ครรภ์โดยการทดสอบไคว์สแควร์พบว่า ระดับการศึกษา สถานภาพการสมรส ความรู้เกี่ยว กับการให้บริการฝากครรภ์และการได้รับการสนับสนุนจากครอบครัวและการเข้าถึงข้อมูล ด้านบริการฝากครรภ์เป็นปัจจัยที่มีผลต่อการรับรู้เกี่ยวกับการให้บริการฝากครรภ์นอกจากนี้ ผลการวิเคราะห์ลอจิสติกแสดงให้เห็นว่าความรู้ในระดับกลาง (OR = 4.53, 95% CI = 2.10-9.76) ระดับความรู้ในระดับตํ่า (OR = 9.30, 95% CI = 2.63-32.89) และการเข้าถึงข้อมูลด้านบริการฝากครรภ์ในระดับกลาง (OR = 2.12, 95% CI = 1.03-4.38) เป็นปัจจัยที่มีความสัมพันธ์กับการรับรู้เกี่ยวกับการให้บริการฝากครรภ์เชิงลบ ผลการศึกษาชี้ให้เห็นว่า บุคลากรทางสาธารณสุขควรเน้นการให้ความรู้ด้านการใหบริการฝากครรภ์และเพิ่มชองทางการเข้าถึงข้อมูลเกี่ยวกับการให้บริการฝากครรภ์เพื่อให้หญิงตั้งครรภ์มีการรับรู้ในเชิงบวกของการให้บริการฝากครรภ์