Publication: ผลของโปรแกรมการดูแลตนเองต่อพฤติกรรมการควบคุมการปัสสาวะและภาวะกลั้นปัสสาวะไม่อยู่ในผู้ป่วยที่ได้รับการผ่าตัดมะเร็งต่อมลูกหมาก
Issued Date
2564
Resource Type
Language
tha
ISSN
0858-9739 (Print)
2672-9784 (Online)
2672-9784 (Online)
Rights
มหาวิทยาลัยมหิดล
Rights Holder(s)
โรงเรียนพยาบาลรามาธิบดี คณะแพทยศาสตร์โรงพยาบาลรามาธิบดี มหาวิทยาลัยมหิดล
Bibliographic Citation
รามาธิบดีพยาบาลสาร. ปีที่ 27 ฉบับที่ 3 (ก.ย.-ธ.ค. 2564), 360-374
Suggested Citation
นิภาวรรณ อินทโชติ, ศิริลักษณ์ กิจศรีไพศาล, ปกเกศ ศิริศรีตรีรักษ์, Nipawan Intachot, Sirilak Kitsripisarn, Pokket Sirisreetreerux ผลของโปรแกรมการดูแลตนเองต่อพฤติกรรมการควบคุมการปัสสาวะและภาวะกลั้นปัสสาวะไม่อยู่ในผู้ป่วยที่ได้รับการผ่าตัดมะเร็งต่อมลูกหมาก. รามาธิบดีพยาบาลสาร. ปีที่ 27 ฉบับที่ 3 (ก.ย.-ธ.ค. 2564), 360-374. สืบค้นจาก: https://repository.li.mahidol.ac.th/handle/20.500.14594/72068
Research Projects
Organizational Units
Authors
Journal Issue
Thesis
Title
ผลของโปรแกรมการดูแลตนเองต่อพฤติกรรมการควบคุมการปัสสาวะและภาวะกลั้นปัสสาวะไม่อยู่ในผู้ป่วยที่ได้รับการผ่าตัดมะเร็งต่อมลูกหมาก
Alternative Title(s)
The Effects of a PRO-SELF Program on Urinary Control Behaviors and Urinary Incontinence in Patients with Prostate Cancer after Radical Prostatectomy
Other Contributor(s)
Abstract
การวิจัยครั้งนี้เป็นการศึกษากึงทดลอง เพื่อศึกษาผลของโปรแกรมการดููแลตนเองต่อพฤติกรรมการควบคุุมการปัสสาวะและภาวะกลั้นปัสสาวะไม่อยู่ในผู้ป่วยมะเร็งต่อมลูกหมากที่ได้รับการผ่าตัดต่อมลููกหมากออกทั้งหมด โดยใช้โปรแกรม PRO-SELF ที่ประยุุกต์จากแนวคิดการดููแลตนเอง กลุ่มตัวอย่างคือผู้ป่วยมะเร็งต่อมลููกหมากที่่มีภาวะกลั้นปัสสาวะไม่อยู่หลังผ่าตัดต่อมลููกหมากออกทั้งหมด เข้ารับการรักษาในหอผู้ป่วยมะเร็งต่อลููกหมากที่่โรงพยาบาลรามาธิบดี จำนวน 40 ราย ได้รับการคัดเลือกตามคุุณสมบัติที่ กำหนด แบ่งเป็นกลุ่มทดลองและกลุ่มควบคุมกลุ่มละ 20 ราย เครื่่องมือที่่ใช้ในการวิจัยครั้งนี้ ประกอบด้วย โปรแกรมการดูแลตนเอง เก็บรวบรวมข้อมูลโดยใช้แบบบันทึกข้อมูลส่วนบุคคล แบบประเมินพฤติกรรมการควบคุมการปัสสาวะ และแผ่นทดสอบ 1 ชั่่วโมง วิเคราะห์ข้อมูลโดยใช้สถิติเชิงพรรณนา สถิติไควสแควส์ สถิติทดสอบค่าที สถิติแมนวิทนีย์ ยู และสถิติวิลคอกสัน ผลการศึกษาพบว่า ภายหลังการเข้าร่วมโปรแกรมการดูแลตนเอง กลุ่มทดลองมีค่าเฉลี่ยคะแนนพฤติกรรมการควบคุมการปัสสาวะสูงกว่าก่อนเข้าร่วมโปรแกรม และสูงกว่ากลุ่มควบคุมอย่างมีนัยสำคัญทางสถิติ และกลุ่มทดลองมีค่าเฉลี่่ยภาวะกลั้นปัสสาวะไม่อยู่ต่ำกว่าก่อนเข้าร่วมโปรแกรม และต่ำกว่ากลุ่มควบคุมอย่างมีนัยสำคัญทางสถิติการศึกษานี้แสดงให้เห็นว่าโปรแกรมการดูแลตนเองมีผลทำให้ผู้ป่วยที่กลั้นปัสสาวะไม่อยู่หลังการผ่าตัดต่อมลูกหมากออกทั้งหมดมีพฤติกรรมการดูแลตนเองดีขึน และภาวะกลั้นปัสสาวะไม่อยู่ลดลง ดังนั้นจึงควรนำโปรแกรมการดูแลตนเองนี้ไปประยุกต์ใช้ในผู้ป่วยมะเร็งต่อมลูกหมากที่่ได้รับการผ่าตัดต่อมลููกหมากออกทั้งหมด เพื่่อส่งเสริมพฤติกรรมการควบคุมการปัสสาวะ และลดภาวะกลั้นปัสสาวะไม่อยู่
This quasi-experimental research aimed to examine the effect of interventions based on the self-care concept called a ‘PRO-SELF’ Program for urinary control behaviors and urinary incontinence in patients with prostate cancer after radical prostatectomy. The sample consisted of 40 men with urinary incontinence after radical prostatectomy being admitted to Ramathibodi Hospital. The participants were assigned either to an experimental group (n = 20) or a control group (n = 20). The research instruments consisted of the PRO-SELF program, a demographic questionnaire, a urinary control behavior questionnaire, and the 1-hour pad test. Data were analyzed using descriptive statistics, a chi-square test, a t-test, the Mann-Whitney U test, and the Wilcoxon signed-rank test. The result revealed the higher means scores of the urinary control behaviors in the experimental group than in the control group before and after participating in the PRO-SELF Program significantly. Likewise, the experimental group had significantly lower means scores of urinary incontinence than the control group. The study illustrates that the PRO-SELF Program for urinary control effectively improved urinary control behaviors and reduced the urinary incontinence in patients with urinary incontinence after radical prostatectomy. Hence, implementing the PRO-SELF Program is recommended for patients with prostate cancer after radical prostatectomy to promote better urinary control behaviors and lower urinary incontinence.
This quasi-experimental research aimed to examine the effect of interventions based on the self-care concept called a ‘PRO-SELF’ Program for urinary control behaviors and urinary incontinence in patients with prostate cancer after radical prostatectomy. The sample consisted of 40 men with urinary incontinence after radical prostatectomy being admitted to Ramathibodi Hospital. The participants were assigned either to an experimental group (n = 20) or a control group (n = 20). The research instruments consisted of the PRO-SELF program, a demographic questionnaire, a urinary control behavior questionnaire, and the 1-hour pad test. Data were analyzed using descriptive statistics, a chi-square test, a t-test, the Mann-Whitney U test, and the Wilcoxon signed-rank test. The result revealed the higher means scores of the urinary control behaviors in the experimental group than in the control group before and after participating in the PRO-SELF Program significantly. Likewise, the experimental group had significantly lower means scores of urinary incontinence than the control group. The study illustrates that the PRO-SELF Program for urinary control effectively improved urinary control behaviors and reduced the urinary incontinence in patients with urinary incontinence after radical prostatectomy. Hence, implementing the PRO-SELF Program is recommended for patients with prostate cancer after radical prostatectomy to promote better urinary control behaviors and lower urinary incontinence.