Publication:
ปัจจัยที่มีความสัมพันธ์กับภาพลักษณ์ของวัยรุ่นโรคธาลัสซีเมีย

dc.contributor.authorจิรกานต์ พันธ์ฤทธิ์ดําen_US
dc.contributor.authorJirakan Punriddumen_US
dc.contributor.authorวนิดา เสนะสุทธิพันธุ์en_US
dc.contributor.authorWanida Sanasuttipunen_US
dc.contributor.authorพรรณรัตน์ แสงเพิ่มen_US
dc.contributor.authorParnnarat Sangpermen_US
dc.contributor.otherมหาวิทยาลัยมหิดล. คณะพยาบาลศาสตร์en_US
dc.contributor.otherมหาวิทยาลัยมหิดล. คณะพยาบาลศาสตร์. ภาควิชาการพยาบาลกุมารเวชศาสตร์en_US
dc.date.accessioned2019-06-28T03:47:31Z
dc.date.available2019-06-28T03:47:31Z
dc.date.created2562-06-28
dc.date.issued2561
dc.description.abstractวัตถุประสงค์ : ศึกษาความสัมพันธ์ระหว่างอายุ เพศ การรับรู้ปฏิกิริยาของบุคคล และการสนับสนุนทางสังคมกับภาพลักษณ์ของวัยรุ่นโรคธาลัสซีเมีย รูปแบบการวิจัย: การศึกษาเชิงความสัมพันธ์ วิธีดําเนินการวิจัย : กลุ่มตัวอย่างเป็นวัยรุ่นโรคธาลัสซีเมียที่มีอายุระหว่าง 13-18 ปี จําานวน 126 คน ที่มารับบริการในคลินิกโรคเลือดของโรงพยาบาลระดับตติยภูมิ จํานวน 3 แห่ง เลือกกลุ่มตัวอย่างแบบสะดวก เก็บรวบรวมข้อมูล โดยใช้แบบสอบถามข้อมูลทั่วไป แบบสอบถามการรับรู้ปฏิกิริยาของบุคคลในสังคม แบบสอบถามการสนับสนุนทางสังคมและแบบสอบถามภาพลักษณ์ของวัยรุ่นโรคธาลัสซีเมีย วิเคราะห์ข้อมูลโดยใช้สถิติเชิงพรรณนา สถิติสัมประสิทธิ์สหสัมพันธ์เพียร์สัน และสถิติไคสแควร์ ผลการวิจัย: วัยรุ่นโรคธาลัสซีเมียมีการรับรู้ภาพลักษณ์ในระดับไม่ดี และพบว่าอายุมีความสัมพันธ์ทางลบกับภาพลักษณ์ (r = - .18, p < .05) ปัจจัยที่มีความสัมพันธ์ทางบวกกับภาพลักษณ์ ได้แก่ การรับรู้ปฏิกิริยาของบุคคล(r = .45, p < .01) และการสนับสนุนทางสังคม (r = .20, p < .05) ส่วนเพศพบว่า ไม่มีความสัมพันธ์กับภาพลักษณ์(χ2 = .74, p = .39)สรุปและข้อเสนอแนะ: การรับรู้ภาพลักษณ์ของวัยรุ่นโรคธาลัสซีเมียอยู่ในระดับที่ไม่ดี โดยมีปัจจัยที่เกี่ยวข้องได้แก่อายุ การรับรู้ปฏิกิริยาของบุคคล และการสนับสนุนทางสังคม บุคลากรทีมสุขภาพโดยเฉพาะพยาบาลวิชาชีพควรส่งเสริมให้ผู้ดูแล สมาชิกในครอบครัว และผู้ที่เกี่ยวข้องมีความเข้าใจวัยรุ่นที่เป็นโรคธาลัสซีเมีย และมีพฤติกรรม การแสดงออกหรือปฏิกิริยาตอบสนองที่ดีต่อวัยรุ่น ตลอดจนการสนับสนุนทางสังคมในด้านต่างๆ แก่วัยรุ่นโรคธาลัสซีเมียอย่างครอบคลุมและเพียงพอ เพื่อเป็นการสนับสนุนให้วัยรุ่นเหล่านี้มีการรับรู้ภาพลักษณ์ของตนเองที่ดีขึ้นen_US
dc.description.abstractPurpose: This study aimed to examine the relationships between related factors: age, gender, perceived reactions from others, social support, and body image of adolescents with thalassemia. Design: Correlational study. Methods: The study sample included 126 patients, aged between 13-18 years, who attended Pediatric Hematology Clinics in three tertiary care public hospitals. The subjects were recruited by convenience sampling. Data were collected using questionnaires: a demographic data form, perceived reactions from others questionnaire, social support questionnaire, and body image of adolescents with thalassemia questionnaire. Data were analyzed using descriptive statistics, Pearson’s correlation coefficient and Chi-square. Main findings: The study results indicated that adolescents with thalassemia perceived their body image at a poor level. Patient’s age was negatively correlated with body image (r = - .18, p < .05). Two factors were positively correlated with body image; that is, perceived reactions from others (r = .45, p < .01) and social support (r = .20, p < .05). However, gender was not correlated with body image in adolescents with thalassemia (χ2 = .74, p = .39). Conclusion and recommendations: Adolescents with thalassemia had poor body image and the correlated factors included age, perceived reaction from others, and social support. Healthcare providers, especially professional nurses, should promote caregivers, family members and other related persons to have good understanding towards these adolescents and express positive reaction as well as provide sufficient social support to them in all aspects. These would assist adolescents with thalassemia to perceive better body image.en_US
dc.identifier.citationวารสารพยาบาลศาสตร์. ปีที่ 36, ฉบับที่ 1 (ม.ค - มี.ค 2561), 57-72en_US
dc.identifier.urihttps://repository.li.mahidol.ac.th/handle/20.500.14594/44193
dc.language.isothaen_US
dc.rightsมหาวิทยาลัยมหิดลen_US
dc.rights.holderคณะพยาบาลศาสตร์ มหาวิทยาลัยมหิดลen_US
dc.subjectวัยรุ่นen_US
dc.subjectภาพลักษณ์en_US
dc.subjectการสนับสนุนทางสังคมen_US
dc.subjectโรคธาลัสซีเมียen_US
dc.subjectadolescentsen_US
dc.subjectbody imageen_US
dc.subjectsocial supporten_US
dc.subjectthalassemiaen_US
dc.subjectJournal of Nursing Scienceen_US
dc.subjectวารสารพยาบาลศาสตร์en_US
dc.titleปัจจัยที่มีความสัมพันธ์กับภาพลักษณ์ของวัยรุ่นโรคธาลัสซีเมียen_US
dc.title.alternativeFactors Related to Body Image of Adolescents with Thalassemiaen_US
dc.typeArticleen_US
dspace.entity.typePublication
mods.location.urlhttps://www.tci-thaijo.org/index.php/ns/article/view/145510/107467

Files

Original bundle

Now showing 1 - 1 of 1
Thumbnail Image
Name:
ns-ar-wanida-2561-1.pdf
Size:
2.62 MB
Format:
Adobe Portable Document Format

License bundle

Now showing 1 - 1 of 1
No Thumbnail Available
Name:
license.txt
Size:
1.71 KB
Format:
Item-specific license agreed upon to submission
Description:

Collections