Publication: Proficiency and Health-Related Behaviors Regarding Pelvic Organ Prolapse and Urinary Incontinence among Female Personnel in a Private Hospital
Issued Date
2017
Resource Type
Language
eng
ISSN
0125-3611 (Print)
2651-0561 (Online)
2651-0561 (Online)
Rights
Mahidol University
Rights Holder(s)
Nursing Department Vejthani Hospital
Department of Nursing Faculty of Medicine Ramathibodi Hospital Mahidol University
Research Center Faculty of Medicine Ramathibodi Hospital Mahidol University
Department of Obstetrics & Gynaecology Faculty of Medicine Ramathibodi Hospital Mahidol University
Department of Nursing Faculty of Medicine Ramathibodi Hospital Mahidol University
Research Center Faculty of Medicine Ramathibodi Hospital Mahidol University
Department of Obstetrics & Gynaecology Faculty of Medicine Ramathibodi Hospital Mahidol University
Bibliographic Citation
Ramathibodi Medical Journal. Vol. 40, No. 4 (Oct-Dec 2017), 11-19
Suggested Citation
Supaporn Chaisri, Sirirat Sarit-apirak, Umaporn Udomsubpayakul, Jittima Manonai, สุภาพร ไชยศรี, ศิริรัตน์ สฤษดิ์อภิรักษ์, อุมาพร อุดมทรัพยากุล, จิตติมา มโนนัย Proficiency and Health-Related Behaviors Regarding Pelvic Organ Prolapse and Urinary Incontinence among Female Personnel in a Private Hospital. Ramathibodi Medical Journal. Vol. 40, No. 4 (Oct-Dec 2017), 11-19. Retrieved from: https://repository.li.mahidol.ac.th/handle/20.500.14594/79587
Research Projects
Organizational Units
Authors
Journal Issue
Thesis
Title
Proficiency and Health-Related Behaviors Regarding Pelvic Organ Prolapse and Urinary Incontinence among Female Personnel in a Private Hospital
Alternative Title(s)
ความรู้และพฤติกรรมเกี่ยวกับภาวะอวัยวะในอุ้งเชิงกรานหย่อนและภาวะปัสสาวะเล็ดราดของบุคลากรหญิงในโรงพยาบาลเอกชน
Other Contributor(s)
Vejthani Hospital. Nursing Department
Mahidol University. Faculty of Medicine Ramathibodi Hospital. Department of Nursing
Mahidol University. Faculty of Medicine Ramathibodi Hospital. Research Center
Mahidol University. Faculty of Medicine Ramathibodi Hospital. Department of Obstetrics & Gynaecology
Mahidol University. Faculty of Medicine Ramathibodi Hospital. Department of Nursing
Mahidol University. Faculty of Medicine Ramathibodi Hospital. Research Center
Mahidol University. Faculty of Medicine Ramathibodi Hospital. Department of Obstetrics & Gynaecology
Abstract
Background: Pelvic organ prolapse (POP) and urinary incontinence (UI) are common problems among women. Healthcare provider’s competence, knowledge and practice skills are associated with quality of care.
Objective: To evaluate the proficiency and health-related behaviors regarding pelvic organ prolapse and urinary incontinence among female hospital personnel, and the association between the proficiency and their practice.
Methods: A cross-sectional survey was conducted in a private hospital from January to June 2016. A Prolapse and Incontinence Knowledge Questionnaire (PIKQ) was used to evaluate the proficiency regarding POP and UI, while a newly developed, 3-item questionnaire was used to evaluate health-related behaviors. Proficiency was defined as scores of 50% or greater on the POP scale and 80% or greater on the UI scale. Pearson’s correlation was used to determine the correlation between the proficiency and three health-related behaviors.
Results: Two hundred and eight female personnel participated in this survey. Response rate was 52.2%, 70.2% of participants were proficient in POP knowledge, whereas only 24.5% were proficient in UI knowledge. The only factor associated with POP and UI proficiency was healthcare related experience (P < 0.05). There was an association between POP and UI proficiency and all 3 items of health-related behaviors (P < 0.05) except UI proficiency and pelvic floor muscle exercise.
Conclusions: The rate of POP proficiency was moderately, while the proficiency rate of the UI scale was quite low among medical and non-medical personnel working at a private hospital. POP and UI proficiency impacted on health-related behaviors.
บทนำ: ภาวะอวัยวะในอุ้งเชิงกรานหย่อนและปัสสาวะเล็ดเป็นปัญหาที่พบได้บ่อยในสตรี ความรู้ความสามารถและการปฏิบัติของผู้ให้การบริบาลมีความสัมพันธ์กับคุณภาพการบริบาล วัตถุประสงค์: เพื่อประเมินความรู้และพฤติกรรมเกี่ยวกับภาวะอวัยวะในอุ้งเชิงกรานหย่อนและปัสสาวะเล็ดราดของบุคลากรหญิงในโรงพยาบาลเอกชนและความสัมพันธ์ระหว่างความรู้และพฤติกรรมดังกล่าว วิธีการวิจัย: เป็นการวิจัยเพื่อสำรวจและเก็บข้อมูลในโรงพยาบาลเอกชน ระหว่างเดือนมกราคม - มิถุนายน พ.ศ. 2559 โดยใช้แบบสอบถาม Prolapse and Incontinence Knowledge Questionnaire (PIKQ) ในการประเมินระดับความรู้เกี่ยวกับภาวะอวัยวะในอุ้งเชิงกรานหย่อนและปัสสาวะเล็ดราด รวมทั้งมีการพัฒนาข้อคำถามขึ้นมาใหม่ 3 ข้อ เพื่อประเมินพฤติกรรมและการมีความรู้ ซึ่งต้องได้คะแนนไม่น้อยกว่าร้อยละ 50 ในหัวข้อภาวะอวัยวะในอุ้งเชิงกรานหย่อน และไม่น้อยกว่าร้อยละ 80 ในหัวข้อภาวะปัสสาวะเล็ดราด และใช้ค่าสัมประสิทธิ์สหสัมพันธ์ของเพียร์สันเพื่อประเมินความสัมพันธ์ระหว่างความรู้และพฤติกรรมทั้ง 3 ข้อ ผลการศึกษา: กลุ่มตัวอย่างจำนวนทั้งสิ้น 208 ราย คิดเป็นร้อยละ 52.2 พบว่า ร้อยละ 70.2 ของกลุ่มตัวอย่าง มีความรู้เกี่ยวกับภาวะอวัยวะในอุ้งเชิงกรานหย่อน และมีเพียงร้อยละ 24.5 มีความรู้เกี่ยวกับภาวะปัสสาวะเล็ดราด ปัจจัยที่มีความสัมพันธ์กับความรู้มีเพียงปัจจัยเดียวคือ ประสบการณ์การทำงานด้านสุขภาพ (P < 0.05) มีความสัมพันธ์กับความรู้กับพฤติกรรมทั้ง 3 หัวข้อ (P < 0.05) ยกเว้นความรู้เรื่องภาวะปัสสาวะเล็ดราดกับการบริหารกล้ามเนื้ออุ้งเชิงกรานที่ไม่มีความสัมพันธ์กัน สรุป: บุคลากรที่ทำงานในโรงพยาบาลเอกชนมีความรู้เกี่ยวกับภาวะอวัยวะในอุ้งเชิงกรานหย่อนค่อนข้างสูง แต่มีความรู้เกี่ยวกับภาวะปัสสาวะเล็ดราดค่อนข้างต่ำ และความรู้เกี่ยวกับภาวะอวัยวะในอุ้งเชิงกรานหย่อนและปัสสาวะเล็ดราดมีผลต่อการแสดงพฤติกรรม
บทนำ: ภาวะอวัยวะในอุ้งเชิงกรานหย่อนและปัสสาวะเล็ดเป็นปัญหาที่พบได้บ่อยในสตรี ความรู้ความสามารถและการปฏิบัติของผู้ให้การบริบาลมีความสัมพันธ์กับคุณภาพการบริบาล วัตถุประสงค์: เพื่อประเมินความรู้และพฤติกรรมเกี่ยวกับภาวะอวัยวะในอุ้งเชิงกรานหย่อนและปัสสาวะเล็ดราดของบุคลากรหญิงในโรงพยาบาลเอกชนและความสัมพันธ์ระหว่างความรู้และพฤติกรรมดังกล่าว วิธีการวิจัย: เป็นการวิจัยเพื่อสำรวจและเก็บข้อมูลในโรงพยาบาลเอกชน ระหว่างเดือนมกราคม - มิถุนายน พ.ศ. 2559 โดยใช้แบบสอบถาม Prolapse and Incontinence Knowledge Questionnaire (PIKQ) ในการประเมินระดับความรู้เกี่ยวกับภาวะอวัยวะในอุ้งเชิงกรานหย่อนและปัสสาวะเล็ดราด รวมทั้งมีการพัฒนาข้อคำถามขึ้นมาใหม่ 3 ข้อ เพื่อประเมินพฤติกรรมและการมีความรู้ ซึ่งต้องได้คะแนนไม่น้อยกว่าร้อยละ 50 ในหัวข้อภาวะอวัยวะในอุ้งเชิงกรานหย่อน และไม่น้อยกว่าร้อยละ 80 ในหัวข้อภาวะปัสสาวะเล็ดราด และใช้ค่าสัมประสิทธิ์สหสัมพันธ์ของเพียร์สันเพื่อประเมินความสัมพันธ์ระหว่างความรู้และพฤติกรรมทั้ง 3 ข้อ ผลการศึกษา: กลุ่มตัวอย่างจำนวนทั้งสิ้น 208 ราย คิดเป็นร้อยละ 52.2 พบว่า ร้อยละ 70.2 ของกลุ่มตัวอย่าง มีความรู้เกี่ยวกับภาวะอวัยวะในอุ้งเชิงกรานหย่อน และมีเพียงร้อยละ 24.5 มีความรู้เกี่ยวกับภาวะปัสสาวะเล็ดราด ปัจจัยที่มีความสัมพันธ์กับความรู้มีเพียงปัจจัยเดียวคือ ประสบการณ์การทำงานด้านสุขภาพ (P < 0.05) มีความสัมพันธ์กับความรู้กับพฤติกรรมทั้ง 3 หัวข้อ (P < 0.05) ยกเว้นความรู้เรื่องภาวะปัสสาวะเล็ดราดกับการบริหารกล้ามเนื้ออุ้งเชิงกรานที่ไม่มีความสัมพันธ์กัน สรุป: บุคลากรที่ทำงานในโรงพยาบาลเอกชนมีความรู้เกี่ยวกับภาวะอวัยวะในอุ้งเชิงกรานหย่อนค่อนข้างสูง แต่มีความรู้เกี่ยวกับภาวะปัสสาวะเล็ดราดค่อนข้างต่ำ และความรู้เกี่ยวกับภาวะอวัยวะในอุ้งเชิงกรานหย่อนและปัสสาวะเล็ดราดมีผลต่อการแสดงพฤติกรรม