Publication: Transvaginal Sonographic Assessment of Postvoid Residual Urine Volumes in Women with Pelvic Floor Dysfunction
Issued Date
2017
Resource Type
Language
eng
ISSN
0125-3611 (Print)
2651-0561 (Online)
2651-0561 (Online)
Rights
Mahidol University
Rights Holder(s)
The World Medical Center
Department of Obstetrics and Gynecology Faculty of Medicine Ramathibodi Hospital Mahidol University
Department of Obstetrics and Gynecology Faculty of Medicine Ramathibodi Hospital Mahidol University
Bibliographic Citation
Ramathibodi Medical Journal. Vol. 40, No. 2 (Apr-Jun 2017), 34-41
Suggested Citation
Tawan Prapaspongsa, Jittima Manonai, ตาวัน ประภัสพงษา, จิตติมา มโนนัย Transvaginal Sonographic Assessment of Postvoid Residual Urine Volumes in Women with Pelvic Floor Dysfunction. Ramathibodi Medical Journal. Vol. 40, No. 2 (Apr-Jun 2017), 34-41. Retrieved from: https://repository.li.mahidol.ac.th/handle/20.500.14594/79579
Research Projects
Organizational Units
Authors
Journal Issue
Thesis
Title
Transvaginal Sonographic Assessment of Postvoid Residual Urine Volumes in Women with Pelvic Floor Dysfunction
Alternative Title(s)
การประเมินปริมาณปัสสาวะที่เหลือค้างโดยใช้การตรวจคลื่นเสียงความถี่สูงทางช่องคลอดในสตรีที่มีภาวะกระบังลมหย่อน
Abstract
Objective: To evaluate the correlation between postvoid residual urine volumes assessed by transvaginal ultrasonography and by catheterization in women that had pelvic floor dysfunction.
Methods: Measurement of postvoid residual urine volume was performed in 78 women who presented with pelvic floor dysfunction at the Urogynaecology Clinic, Ramathibodi Hospital. Transvaginal ultrasonography was used to measure three diameters of the bladder in two perpendicular planes. Postvoid residual urine volumes were calculated using the formula “postvoid residual volume = (height x width x depth) x 0.7” and these volumes were compared with those obtained from catheterization in each patient.
Results: Pelvic organ prolapse, stress urinary incontinence and mixed urinary incontinence were found in 53.8%, 46.2% and 41.0% of women, respectively. The postvoid residual urine volumes assessed by transvaginal ultrasonography were significantly correlated with the catheterized urine volumes. These two methods had high correlation coefficient of 0.99 (P < 0.001). The mean difference of bladder volume from the two assessments was 6.02 ml (95% CI, 7 - 19)
Conclusions: The transvaginal ultrasonography is a non-invasive technique that has high correlation with catheterized urine volume when was used to assess postvoid residual urine volumes in women with pelvic floor dysfunction.
วัตถุประสงค์: เพื่อศึกษาความสัมพันธ์ระหว่างการประเมินปริมาณปัสสาวะที่เหลือค้าง โดยใช้การตรวจคลื่นเสียงความถี่สูงทางช่องคลอดและการสวนปัสสาวะในสตรีที่มีภาวะกระบังลมหย่อน วิธีการศึกษา: เป็นการประเมินปริมาณปัสสาวะที่เหลือค้างในสตรีที่มาตรวจที่คลินิกนรีเวชทางเดินปัสสาวะและอวัยวะสืบพันธุ์ โรงพยาบาลรามาธิบดี ด้วยปัญหากระบังลมหย่อน จำนวน 78 ราย โดยใช้วิธีการตรวจด้วยคลื่นเสียงความถี่สูงทางช่องคลอด และวัดระยะของกระเพาะปัสสาวะในสองระนาบที่ตั้งฉากกัน รวมทั้งหมด 3 แนว แล้วจึงนำค่าที่วัดได้มาคำนวณหาปริมาณปัสสาวะที่เหลือค้างอยู่ในกระเพาะปัสสาวะภายหลังการถ่ายปัสสาวะ โดยใช้สูตรคำนวณดังนี้ (ความยาว X ความกว้าง X ความสูง) X 0.7 แล้วจึงนำค่าที่คำนวณได้มาเปรียบเทียบกับปริมาณปัสสาวะที่วัดได้จากการใช้สายสวนปัสสาวะ ผลการศึกษา: พบภาวะอวัยวะในอุ้งเชิงกรานหย่อน ไอจามปัสสาวะเล็ด และกลั้นปัสสาวะไม่อยู่แบบผสม ร้อยละ 53.8, 46.2 และ 41.0 ในสตรีตามลำดับ ปริมาณปัสสาวะที่เหลือค้างที่คำนวณได้จากการตรวจด้วยคลื่นเสียงความถี่สูงทางช่องคลอดมีความสัมพันธ์อย่างมีนัยสำคัญกับปริมาณปัสสาวะที่ได้จากการสวนด้วยสายสวน การตรวจทั้งสองวิธีมีค่าสัมประสิทธิ์สหสัมพันธ์ สูงถึง 0.99 ความแตกต่างระหว่างค่าเฉลี่ยของทั้งสองวิธี เท่ากับ 6.02 มิลลิลิตร (95% CI, 7 - 19) สรุป: การตรวจด้วยคลื่นเสียงความถี่สูงทางช่องคลอดเป็นวิธีการตรวจที่ไม่ก่อให้เกิดความเจ็บปวด มีความสัมพันธ์ในระดับสูงกับปริมาณปัสสาวะที่ได้จากการสวนด้วยสายสวนในการประเมินปริมาณปัสสาวะที่เหลือค้างในสตรีที่มีภาวะกระบังลมหย่อน
วัตถุประสงค์: เพื่อศึกษาความสัมพันธ์ระหว่างการประเมินปริมาณปัสสาวะที่เหลือค้าง โดยใช้การตรวจคลื่นเสียงความถี่สูงทางช่องคลอดและการสวนปัสสาวะในสตรีที่มีภาวะกระบังลมหย่อน วิธีการศึกษา: เป็นการประเมินปริมาณปัสสาวะที่เหลือค้างในสตรีที่มาตรวจที่คลินิกนรีเวชทางเดินปัสสาวะและอวัยวะสืบพันธุ์ โรงพยาบาลรามาธิบดี ด้วยปัญหากระบังลมหย่อน จำนวน 78 ราย โดยใช้วิธีการตรวจด้วยคลื่นเสียงความถี่สูงทางช่องคลอด และวัดระยะของกระเพาะปัสสาวะในสองระนาบที่ตั้งฉากกัน รวมทั้งหมด 3 แนว แล้วจึงนำค่าที่วัดได้มาคำนวณหาปริมาณปัสสาวะที่เหลือค้างอยู่ในกระเพาะปัสสาวะภายหลังการถ่ายปัสสาวะ โดยใช้สูตรคำนวณดังนี้ (ความยาว X ความกว้าง X ความสูง) X 0.7 แล้วจึงนำค่าที่คำนวณได้มาเปรียบเทียบกับปริมาณปัสสาวะที่วัดได้จากการใช้สายสวนปัสสาวะ ผลการศึกษา: พบภาวะอวัยวะในอุ้งเชิงกรานหย่อน ไอจามปัสสาวะเล็ด และกลั้นปัสสาวะไม่อยู่แบบผสม ร้อยละ 53.8, 46.2 และ 41.0 ในสตรีตามลำดับ ปริมาณปัสสาวะที่เหลือค้างที่คำนวณได้จากการตรวจด้วยคลื่นเสียงความถี่สูงทางช่องคลอดมีความสัมพันธ์อย่างมีนัยสำคัญกับปริมาณปัสสาวะที่ได้จากการสวนด้วยสายสวน การตรวจทั้งสองวิธีมีค่าสัมประสิทธิ์สหสัมพันธ์ สูงถึง 0.99 ความแตกต่างระหว่างค่าเฉลี่ยของทั้งสองวิธี เท่ากับ 6.02 มิลลิลิตร (95% CI, 7 - 19) สรุป: การตรวจด้วยคลื่นเสียงความถี่สูงทางช่องคลอดเป็นวิธีการตรวจที่ไม่ก่อให้เกิดความเจ็บปวด มีความสัมพันธ์ในระดับสูงกับปริมาณปัสสาวะที่ได้จากการสวนด้วยสายสวนในการประเมินปริมาณปัสสาวะที่เหลือค้างในสตรีที่มีภาวะกระบังลมหย่อน