Publication: Bystander Cardio-Pulmonary Resuscitation Practice among Out- of- Hospital Cardiac Arrest: Rajavithi Hospital’s Narenthorn Emergency Medical Service Center, Thailand
Issued Date
2018
Resource Type
Language
eng
ISSN
2697-584X (Print)
2697-5866 (Online)
2697-5866 (Online)
Rights
Mahidol University
Rights Holder(s)
Department of Public Health Nursing Faculty of Public Health Mahidol University
Bibliographic Citation
Thai Journal of Public Health. Vol. 48, No. 2 (May-August 2018), 256-269
Suggested Citation
Ubon Yeeheng, Tassanee Rawiworrakul, อุบล ยี่เฮ็ง, ทัศนีย์ รวิวรกุล Bystander Cardio-Pulmonary Resuscitation Practice among Out- of- Hospital Cardiac Arrest: Rajavithi Hospital’s Narenthorn Emergency Medical Service Center, Thailand. Thai Journal of Public Health. Vol. 48, No. 2 (May-August 2018), 256-269. Retrieved from: https://repository.li.mahidol.ac.th/handle/20.500.14594/63709
Research Projects
Organizational Units
Authors
Journal Issue
Thesis
Title
Bystander Cardio-Pulmonary Resuscitation Practice among Out- of- Hospital Cardiac Arrest: Rajavithi Hospital’s Narenthorn Emergency Medical Service Center, Thailand
Alternative Title(s)
การนวดหัวใจผายปอดกู้ชีพผู้ป่วยที่มีภาวะหัวใจหยุดเต้น โดยผู้ประสบเหตุนอกโรงพยาบาล: ศูนย์กู้ชีพ "นเรนทร" โรงพยาบาลราชวิถี
Other Contributor(s)
Abstract
This study aimed to examine outcomes
of bystander Cardio-Pulmonary Resuscitation
(CPR) among Out-of-hospital cardiac arrest
(OHCA) patients at Rajavithi Hospital’s
Narenthorn Emergency Medical Service (EMS)
Center, Thailand. A retrospective study using
secondary data of 510 OHCA patients from
2014 to 2016 was conducted. Descriptive
statistics, inferential statistics, univariate
(Chi-square), and multivariate analyses (Logistic
regression) were employed for data analysis.
The majority of bystander CPR performers
were volunteers (87.3%) and 43.7% generate
return of spontaneous circulation (ROSC).
Calling time duration and initial electrocardiogram
(EKG) had signifi cant relationship with
OHCA patients’ survival to those receiving
bystander CPR. Therefore, calling time and
initial EKG were major factors of OHCA
patients’ survival. Encouraging CPR training
and providing automated external defi brillator
devices (AED) in many public areas is
important for effective bystander CPR.
การวิจัยนี้มีวัตถุประสงค์ เพื่อศึกษาผลลัพธ์ของ การนวดหัวใจผายปอดกู้ชีพผู้ป่วยที่มีภาวะหัวใจ หยุดเต้นโดยผู้ประสบเหตุนอกโรงพยาบาลของศูนย์กู้ชีพ “นเรนทร” โรงพยาบาลราชวิถี โดยใช้ข้อมูลทุติยภูมิ จากบันทึกผู้ที่มีภาวะหัวใจหยุดเต้นนอกโรงพยาบาล ของศูนย์กู้ชีพ “นเรนทร” โรงพยาบาลราชวิถี ระหว่าง ปี พ.ศ. 2557-2559 วิเคราะห์ข้อมูลโดยใช้สถิติเชิง พรรณนา และสถิติเชิงวิเคราะห์แบบการวิเคราะห์ ตัวแปรตัวเดียว (Chi-square) และ การวิเคราะห์ พหุตัวแปร (Multiple Logistic regression) ผลการศึกษาพบว่า กลุ่มผู้ประสบเหตุที่ทำการช่วย นวดหัวใจผายปอดกู้ชีพเป็นกลุ่มอาสาสมัครมากที่สุด (ร้อยละ 87.3) และพบว่า มีการรอดชีวิต (คลำพบ ชีพจร) ร้อยละ 43.7 ซึ่งปัจจัยที่มีความสัมพันธ์กับ การรอดชีวิตอย่างมีนัยสำคัญทางสถิติ คือ ช่วงเวลา ที่แจ้งเหตุ และคลื่นไฟฟ้าหัวใจที่บันทึกได้ครั้งแรก ที่พบผู้ป่วย ดังนั้น ช่วงเวลาที่แจ้งเหตุ และคลื่นไฟฟ้า หัวใจที่บันทึกได้ครั้งแรกทีพบผู้ป่วยเป็นปัจจัยสำคัญ ต่อการรอดชีวิต การฝึกอบรมการนวดหัวใจผายปอด กู้ชีพ การใช้เครื่องกระตุ้นหัวใจอัตโนมัติและติดตั้ง ให้ครอบคลุมพื้นที่สาธารณะ รวมถึงการสร้างระบบ การบำรุงรักษาเครื่องมือดังกล่าวให้มีประสิทธิภาพ และพร้อมใช้งาน จะช่วยให้การนวดหัวใจผายปอด กู้ชีพโดยผู้ประสบเหตุมีประสิทธิผลดียิ่งขึ้น
การวิจัยนี้มีวัตถุประสงค์ เพื่อศึกษาผลลัพธ์ของ การนวดหัวใจผายปอดกู้ชีพผู้ป่วยที่มีภาวะหัวใจ หยุดเต้นโดยผู้ประสบเหตุนอกโรงพยาบาลของศูนย์กู้ชีพ “นเรนทร” โรงพยาบาลราชวิถี โดยใช้ข้อมูลทุติยภูมิ จากบันทึกผู้ที่มีภาวะหัวใจหยุดเต้นนอกโรงพยาบาล ของศูนย์กู้ชีพ “นเรนทร” โรงพยาบาลราชวิถี ระหว่าง ปี พ.ศ. 2557-2559 วิเคราะห์ข้อมูลโดยใช้สถิติเชิง พรรณนา และสถิติเชิงวิเคราะห์แบบการวิเคราะห์ ตัวแปรตัวเดียว (Chi-square) และ การวิเคราะห์ พหุตัวแปร (Multiple Logistic regression) ผลการศึกษาพบว่า กลุ่มผู้ประสบเหตุที่ทำการช่วย นวดหัวใจผายปอดกู้ชีพเป็นกลุ่มอาสาสมัครมากที่สุด (ร้อยละ 87.3) และพบว่า มีการรอดชีวิต (คลำพบ ชีพจร) ร้อยละ 43.7 ซึ่งปัจจัยที่มีความสัมพันธ์กับ การรอดชีวิตอย่างมีนัยสำคัญทางสถิติ คือ ช่วงเวลา ที่แจ้งเหตุ และคลื่นไฟฟ้าหัวใจที่บันทึกได้ครั้งแรก ที่พบผู้ป่วย ดังนั้น ช่วงเวลาที่แจ้งเหตุ และคลื่นไฟฟ้า หัวใจที่บันทึกได้ครั้งแรกทีพบผู้ป่วยเป็นปัจจัยสำคัญ ต่อการรอดชีวิต การฝึกอบรมการนวดหัวใจผายปอด กู้ชีพ การใช้เครื่องกระตุ้นหัวใจอัตโนมัติและติดตั้ง ให้ครอบคลุมพื้นที่สาธารณะ รวมถึงการสร้างระบบ การบำรุงรักษาเครื่องมือดังกล่าวให้มีประสิทธิภาพ และพร้อมใช้งาน จะช่วยให้การนวดหัวใจผายปอด กู้ชีพโดยผู้ประสบเหตุมีประสิทธิผลดียิ่งขึ้น