Publication:
Factors Related to Quality of Life among Patients with Asthma

dc.contributor.authorLe Thu Hoaien_US
dc.contributor.authorวิมลรัตน์ ภู่วราวุฒิพานิชen_US
dc.contributor.authorWimolrat Puwarawuttipaniten_US
dc.contributor.authorวัลย์ลดา ฉันท์เรืองวณิชย์en_US
dc.contributor.authorWallada Chanruangvanichen_US
dc.contributor.otherมหาวิทยาลัยมหิดล. คณะพยาบาลศาสตร์en_US
dc.contributor.otherมหาวิทยาลัยมหิดล. คณะพยาบาลศาสตร์. ภาควิชาการพยาบาลศัลยศาสตร์en_US
dc.date.accessioned2019-06-14T08:46:04Z
dc.date.available2019-06-14T08:46:04Z
dc.date.created2019-06-14
dc.date.issued2017
dc.description.abstractPurpose: To investigate the relationships between level of dyspnea, FEV1, social support and QOL in persons with asthma. Design: A descriptive correlational study. Methods: The sample composed of 115 persons with asthma who received treatment in Bach Mai Hospital, Hanoi, Vietnam. Data were collected by using 4 questionnaires and lung function test (FEV1): 1) Demographic data and health information, 2) The Borg scale, 3) Social support, and 4) Quality of Life (QOL). Spearman’s rho was employed to test the relationships among studies variables. Main findings: The level of dyspnea was negatively correlated with QOL (rs = - .788, p < .05). FEV1 and social support were positively correlated with QOL (rs = .674, rs = .244, p < .05). Conclusion and recommendations: It is recommended that nurses should assess and suggest patients to manage their symptoms; and help them to seek social support; in order to enhance quality of life of persons with asthma.en_US
dc.description.abstractวัตถุประสงค์: เพื่อศึกษาความสัมพันธ์ระหว่าง ระดับการหายใจลำบาก ความสามารถในการทำงานของปอด (FEV1) การสนับสนุนทางสังคม และคุณภาพชีวิต ในผู้ป่วยโรคหอบหืด รูปแบบการวิจัย: การศึกษาเชิงสหสัมพันธ์ วิธีดำเนินการวิจัย: กลุ่มตัวอย่าง คือ ผู้ป่วยโรคหอบหืดจำนวน 115 ราย ที่ได้รับการรักษาในโรงพยาบาลบาคมาย เมืองฮานอย ประเทศเวียดนาม เก็บรวบรวมข้อมูลโดยใช้แบบสอบถาม และการทดสอบความสามารถในการทำงานของปอด (FEV1) ประกอบด้วย 1) ข้อมูลประชากรและข้อมูลด้านสุขภาพ 2) Borg scale 3) การสนับสนุนทางสังคม และ 4) คุณภาพชีวิต วิเคราะห์ข้อมูลทั่วไป โดยใช้สถิติเชิงบรรยายและวิเคราะห์ความสัมพันธ์ โดยใช้สถิติ Spearman’s rho ผลการศึกษา: ระดับการหายใจลำบากมีความสัมพันธ์ทางลบกับคุณภาพชีวิต (rs = -788, p < .05) ความสามารถในการทำงานของปอด (FEV1) และการสนับสนุนทางสังคมมีความสัมพันธ์ทางบวกกับคุณภาพชีวิต (rs = .674, rs = .244, p < .05) สรุปและข้อเสนอแนะ: พยาบาลควรประเมินระดับการหายใจลำบาก และความสามารถในการทำงานของปอด แนะนำให้ผู้ป่วยจัดการอาการของตนเอง และช่วยผู้ป่วยในการแสวงหาการสนับสนุนทางสังคม เพื่อเพิ่มคุณภาพชีวิตในผู้ป่วยโรคหอบหืดen_US
dc.identifier.citationJournal of Nursing Science. Vol.35(Suppl.1), No. 3 (July - September 2017), 64-70en_US
dc.identifier.urihttps://repository.li.mahidol.ac.th/handle/20.500.14594/44101
dc.language.isoengen_US
dc.rightsMahidol Universityen_US
dc.rights.holderคณะพยาบาลศาสตร์ มหาวิทยาลัยมหิดลen_US
dc.subjectquality of lifeen_US
dc.subjectasthmaen_US
dc.subjectsocial supporten_US
dc.subjectdyspneaen_US
dc.subjectFEV1en_US
dc.subjectคุณภาพชีวิตen_US
dc.subjectหอบหืดen_US
dc.subjectการสนับสนุนทางสังคมen_US
dc.subjectการหายใจลำบากen_US
dc.subjectวารสารพยาบาลศาสตร์en_US
dc.subjectJournal of Nursing Scienceen_US
dc.titleFactors Related to Quality of Life among Patients with Asthmaen_US
dc.title.alternativeปัจจัยที่มีความสัมพันธ์กับคุณภาพชีวิตในผู้ป่วยหอบหืดen_US
dc.typeArticleen_US
dspace.entity.typePublication
mods.location.urlhttps://www.tci-thaijo.org/index.php/ns/article/view/116709/89724

Files

Original bundle

Now showing 1 - 1 of 1
Thumbnail Image
Name:
ns-ar-wimolrat-2017-4.pdf
Size:
184.44 KB
Format:
Adobe Portable Document Format

License bundle

Now showing 1 - 1 of 1
No Thumbnail Available
Name:
license.txt
Size:
1.71 KB
Format:
Item-specific license agreed upon to submission
Description:

Collections