Publication: The development of community care model of sub-district health promoting hospitals for older persons
dc.contributor.author | Somjin Peachpansri | en_US |
dc.contributor.author | Somchai Viripiromgool | en_US |
dc.contributor.author | Vilaivan Thongcharoen | en_US |
dc.contributor.author | Chantana Ronnarithivichai | en_US |
dc.contributor.author | Theepapha Jamkrajang | en_US |
dc.contributor.other | Mahidol University. ASEAN Institute for Health Development | en_US |
dc.date.accessioned | 2015-10-20T09:01:05Z | |
dc.date.accessioned | 2017-03-31T02:36:48Z | |
dc.date.available | 2015-10-20T09:01:05Z | |
dc.date.available | 2017-03-31T02:36:48Z | |
dc.date.created | 2015-10-20 | |
dc.date.issued | 2014 | |
dc.description.abstract | Thai government is improving public health service systems for better quality and efficiency by upgrading health centers to sub-district health promoting hospitals (SHPH). Healthcare service for older persons must be holistic service combining services for consistency with the needs and problems faced by older persons. This study aimed to investigate community care models of SHPH for older persons in order to manage and provide sustainable care for older persons by using limited resources with quality. The study was using design as mixed method. Quantitative data were obtained via questionnaire from 104 healthcare providers for older persons of each SHPH who had worked more than one year and were selected by stratified sampling from all thirteen districts of Kanchanaburi Province.The qualitative data were collected from four focus groups of purposive key informants. Data analysis used descriptive statistics and content analysis. The model was examined by a consensus of persons involved in the local public hearing. The results revealed the model called the community care model“SHPH for Older Persons” consist of collaborative work by four organizations from the government sector with agencies responsible for providing care for older persons. Every sector must set six strategies and ten factors of success to support SHPH operations in order to provide holistic care for every older persons. The importance of care, family members and communities must be willing to volunteer and participate in providing community care for older persons. The results suggest that The government should set policies and support SHPH, local administrative organizations including related agencies to build community strength in providing care for older persons by developing the knowledge of community leaders, enhancing volunteer capacity, enable linkages in the work of every sector to arrange strong elderly service systems in communities. | en_US |
dc.description.abstract | รัฐบาลไทยดำเนินการปรับปรุงระบบบริการสาธารณสุขให้มีคุณภาพและประสิทธิภาพ โดยยกระดับสถานีอนามัยเป็น โรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบล (รพ.สต.) การให้บริการผู้สูงอายุต้องเป็นการให้บริการแบบองค์รวมทมี่ กี ารผสมผสานการบริการ สอดคล้องกับความต้องการและปัญหาของผู้สูงอายุ ปัจจุบันการดูแลผู้สูงอายุดังกล่าว ถือเป็นความรับผิดชอบหลักของ รพ.สต. ดังนั้น ผู้วิจัยจึงสนใจศึกษารูปแบบการดูแลผู้สูงอายุในชุมชนของ รพ.สต. เพื่อให้ได้รูปแบบการบริหารจัดการและให้บริการ ผู้สูงอายุที่ยั่งยืน โดยใช้ทรัพยากรที่มีอยู่อย่างจำกัดได้อย่างมีคุณภาพ ลักษณะการวิจัย เป็นการวิจัยและพัฒนาโดยผสมผสาน ทั้งวิธีเชิงปริมาณและเชิงคุณภาพ ข้อมูลเชิงปริมาณโดยใช้แบบสอบถาม เก็บจากกลุ่มผู้รับผิดชอบให้บริการดูแลสุขภาพผู้สูงอายุของ รพ.สต. 104 คน จาก 13 อำเภอ จังหวัดกาญจนบุรี แห่งละ 1 คน ซึ่งปฏิบัติงานใน รพ.สต.มากกว่า 1 ปี ข้อมูลเชิงคุณภาพเก็บโดยวิธีจากการสนทนากลุ่มแบบเจาะจงกับ 4 กลุ่ม วิเคราะห์ข้อมูล โดยใช้สถิติเชิงพรรณนาและการวิเคราะห์เนื้อหา ผลการวิจัย พบว่า รูปแบบการดูแลในชุมชน “รพ.สต.เพื่อผู้สูงอายุ” ประกอบด้วยการทำงานร่วมกัน 4 หน่วยงานที่รับผิดชอบ ดูแลผู้สูงอายุ โดยทุกภาคส่วนต้องกำหนดกลยุทธ์ 6 ด้าน และปัจจัยแห่งความสำเร็จ 10 ประการ เพื่อสนับสนุนการดำเนินการ ในการดูแลผู้สูงอายุในชุมชน สิ่งสำคัญในการดูแล คือ คนในครอบครัวของผู้สูงอายุและประชาชนในพื้นที่ ต้องมีจิตอาสาและ มีส่วนร่วมในการดูแลผู้สูงอายุในชุมชน ดังนั้น รัฐควรกำหนดนโยบายและสนับสนุนให้องค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น หน่วยงานที่เกี่ยวข้อง และรพ.สต. สร้างความ เข้มแข็งให้แก่ชุมชนในการดูแลผู้สูงอายุ โดยพัฒนาความรู้ของผู้นำชุมชน ส่งเสริมศักยภาพในด้านจิตอาสา เชื่อมโยงการทำงาน ทุกภาคส่วน เพื่อจัดระบบการบริการที่เข้มแข็งในชุมชน | |
dc.identifier.citation | Journal of Public Health and Development. Vol.12, No.3 (2014), 31-47 | en_US |
dc.identifier.issn | 1905-1387 | |
dc.identifier.uri | https://repository.li.mahidol.ac.th/handle/20.500.14594/1588 | |
dc.language.iso | eng | en_US |
dc.rights | Mahidol University | |
dc.rights.holder | ASEAN Institute for Health Development Mahidol University | |
dc.subject | Community care model | en_US |
dc.subject | Older persons | en_US |
dc.subject | Sub-district | en_US |
dc.subject | Health promotion | |
dc.subject | Hospital | |
dc.subject | Open Access article | en_US |
dc.subject | Journal of Public Health and Development | en_US |
dc.subject | วารสารสาธารณสุขและการพัฒนา | en_US |
dc.title | The development of community care model of sub-district health promoting hospitals for older persons | en_US |
dc.title.alternative | การพัฒนารูปแบบการดูแลผู้สูงอายุในชุมชนของ โรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบล | |
dc.type | Article | en_US |
dspace.entity.type | Publication |