Publication: อิทธิพลของอายุ ความรู้เกี่ยวกับการคลอด การสนับสนุนในระยะคลอด ระยะเวลาของการคลอด และความรู้สึกมีคุณค่าในตนเองต่อการรับรู้ประสบการณ์การคลอดในผู้คลอดครรภ์แรก
Issued Date
2566
Resource Type
Language
tha
File Type
application/pdf
Journal Title
วารสารพยาบาลศาสตร์
Volume
41
Issue
4
Start Page
32
End Page
43
Access Rights
open access
Rights
ผลงานนี้เป็นลิขสิทธิ์ของมหาวิทยาลัยมหิดล ขอสงวนไว้สำหรับเพื่อการศึกษาเท่านั้น ต้องอ้างอิงแหล่งที่มา ห้ามดัดแปลงเนื้อหา และห้ามนำไปใช้เพื่อการค้า
Rights Holder(s)
คณะพยาบาลศาสตร์ มหาวิทยาลัยมหิดล
Bibliographic Citation
วารสารพยาบาลศาสตร์. ปีที่ 41, ฉบับที่ 3 (ต.ค.-ธ.ค. 2566), 32-43
Suggested Citation
ถกลรัตน์ หนูฤกษ์, วรรณา พาหุวัฒนกร, ปิยะนันท์ ลิมเรืองรอง, Thakonrat Nhoorerk, Wanna Phahuwatanakorn, Piyanun Limruangrong อิทธิพลของอายุ ความรู้เกี่ยวกับการคลอด การสนับสนุนในระยะคลอด ระยะเวลาของการคลอด และความรู้สึกมีคุณค่าในตนเองต่อการรับรู้ประสบการณ์การคลอดในผู้คลอดครรภ์แรก. วารสารพยาบาลศาสตร์. ปีที่ 41, ฉบับที่ 3 (ต.ค.-ธ.ค. 2566), 32-43. 43. สืบค้นจาก: https://repository.li.mahidol.ac.th/handle/20.500.14594/99164
Research Projects
Organizational Units
Authors
Journal Issue
Thesis
Title
อิทธิพลของอายุ ความรู้เกี่ยวกับการคลอด การสนับสนุนในระยะคลอด ระยะเวลาของการคลอด และความรู้สึกมีคุณค่าในตนเองต่อการรับรู้ประสบการณ์การคลอดในผู้คลอดครรภ์แรก
Alternative Title(s)
Influence of Age, Knowledge of Childbirth, Intrapartum Support, Duration of Childbirth, and Self-Esteem on Perception of the Childbirth Experience among Primigravida
Author's Affiliation
Abstract
วัตถุประสงค์: เพื่อศึกษาอิทธิพลของอายุ ความรู้เกี่ยวกับการคลอด การสนับสนุนในระยะคลอด ระยะเวลาของการคลอด และความรู้สึกมีคุณค่าในตนเองต่อการรับรู้ประสบการณ์การคลอดในผู้คลอดครรภ์แรก
รูปแบบการวิจัย: เป็นการศึกษาเชิงทำนาย
วิธีดำเนินการวิจัย: กลุ่มตัวอย่างเป็นผู้คลอดครรภ์แรกที่รอคลอด และคลอดบุตรในโรงพยาบาลระดับตติยภูมิ จังหวัดสุราษฎร์ธานี จำนวน 92 คน เครื่องมือที่ใช้ในการวิจัย ได้แก่ แบบสอบถามข้อมูลส่วนบุคคล แบบสอบถามความรู้เกี่ยวกับการคลอด แบบสอบถามการสนับสนุนในระยะคลอด แบบสอบถามความรู้สึกมีคุณค่าในตนเอง และแบบสอบถามการรับรู้ประสบการณ์การคลอด วิเคราะห์ข้อมูลโดยสถิติเชิงพรรณนา และสถิติถดถอยเชิงพหุคูณ
ผลการวิจัย: อายุ ความรู้เกี่ยวกับการคลอด การสนับสนุนในระยะคลอด ระยะเวลาของการคลอด และความรู้สึกมีคุณค่าในตนเองสามารถร่วมกันทำนายการรับรู้ประสบการณ์การคลอดในผู้คลอดครรภ์แรกได้ร้อยละ 32 (R2 = .32) โดยตัวแปรที่สามารถทำนายการรับรู้ประสบการณ์การคลอดได้อย่างมีนัยสำคัญทางสถิติ คือ ความรู้เกี่ยวกับการคลอด และความรู้สึกมีคุณค่าในตนเอง (gif.latex?\beta = .25, p < .01 and gif.latex?\beta = .47, p < .01 ตามลำดับ)
สรุปและข้อเสนอแนะ: ความรู้เกี่ยวกับการคลอด และความรู้สึกมีคุณค่าในตนเอง มีผลต่อการรับรู้ประสบกาณ์การคลอดที่ดีในผู้คลอดครรภ์แรก ดังนั้นพยาบาลควรให้ความรู้เกี่ยวกับธรรมชาติของการคลอด การปฏิบัติตัวขณะเจ็บครรภ์คลอด ส่งเสริมให้ผู้คลอดรู้สึกประสบความสำเร็จ พึงพอใจในการคลอด ทำให้รู้สึกว่าตนเองมีคุณค่า เกิดการรับรู้ประสบการณ์การคลอดที่ดี
Purpose: The purpose of this research was to study the influence of age, knowledge of childbirth, intrapartum support, duration of childbirth, and self-esteem on the perception of the childbirth experience among primigravida. Design: A predictive study design. Methods: The sample consisted of 92 primigravidas who delivered in a tertiary hospital in Surat Thani province. Personal data questionnaire, Childbirth Knowledge Questionnaire, Intrapartum Support Questionnaire, The Rosenberg Self-Esteem Questionnaire, and the Childbirth Experience Perception Questionnaire were used. Data were analyzed by using descriptive statistics and multiple regression analysis. Main findings: The finding revealed that the age, knowledge of childbirth, intrapartum support, duration of childbirth, and self-esteem could account for 32% of the variance explained in perceived childbirth experience among primigravida (R2 = .32). Knowledge of childbirth, and self-esteem could predict the perceived childbirth experience among primigravida with statistical significance (gif.latex?\beta = .25, p < .01 and gif.latex?\beta = .47, p < .01, respectively). Conclusion and recommendations: Knowledge of childbirth and good self-esteem can affect a good perception of the childbirth experience in the primigravida. Therefore, nurses should educate the parturient about the nature of childbirth, and what parturient should do during labor. Nurses should also support the parturient to feel successful and satisfied with their birth resulting in good self-esteem which leads to a better perception of the childbirth experience.
Purpose: The purpose of this research was to study the influence of age, knowledge of childbirth, intrapartum support, duration of childbirth, and self-esteem on the perception of the childbirth experience among primigravida. Design: A predictive study design. Methods: The sample consisted of 92 primigravidas who delivered in a tertiary hospital in Surat Thani province. Personal data questionnaire, Childbirth Knowledge Questionnaire, Intrapartum Support Questionnaire, The Rosenberg Self-Esteem Questionnaire, and the Childbirth Experience Perception Questionnaire were used. Data were analyzed by using descriptive statistics and multiple regression analysis. Main findings: The finding revealed that the age, knowledge of childbirth, intrapartum support, duration of childbirth, and self-esteem could account for 32% of the variance explained in perceived childbirth experience among primigravida (R2 = .32). Knowledge of childbirth, and self-esteem could predict the perceived childbirth experience among primigravida with statistical significance (gif.latex?\beta = .25, p < .01 and gif.latex?\beta = .47, p < .01, respectively). Conclusion and recommendations: Knowledge of childbirth and good self-esteem can affect a good perception of the childbirth experience in the primigravida. Therefore, nurses should educate the parturient about the nature of childbirth, and what parturient should do during labor. Nurses should also support the parturient to feel successful and satisfied with their birth resulting in good self-esteem which leads to a better perception of the childbirth experience.