Publication: ผลการใช้สื่อมัลติมีเดีย เรื่อง สารปนเปื้อนในอาหารสำหรับผู้ประกอบการอาหาร ในมหาวิทยาลัยเทคโนโลยีพระจอมเกล้าธนบุรี
Issued Date
2558
Resource Type
Language
tha
Rights
มหาวิทยาลัยมหิดล
Rights Holder(s)
วารสารวารสารการพัฒนางานประจำสู่งานวิจัย คณะสิ่งแวดล้อมและทรัพยากรศาสตร์ มหาวิทยาลัยมหิดล
Bibliographic Citation
วารสารการพัฒนางานประจำสู่งานวิจัย. ปีที่ 2, (ส.ค. 2558), 25-34
Suggested Citation
สมปอง อ้นเดช, นิตยา บุญปริตร ผลการใช้สื่อมัลติมีเดีย เรื่อง สารปนเปื้อนในอาหารสำหรับผู้ประกอบการอาหาร ในมหาวิทยาลัยเทคโนโลยีพระจอมเกล้าธนบุรี. วารสารการพัฒนางานประจำสู่งานวิจัย. ปีที่ 2, (ส.ค. 2558), 25-34. สืบค้นจาก: https://repository.li.mahidol.ac.th/handle/20.500.14594/2774
Research Projects
Organizational Units
Authors
Journal Issue
Thesis
Title
ผลการใช้สื่อมัลติมีเดีย เรื่อง สารปนเปื้อนในอาหารสำหรับผู้ประกอบการอาหาร ในมหาวิทยาลัยเทคโนโลยีพระจอมเกล้าธนบุรี
Alternative Title(s)
Results of Multimedia Usage about Food Contaminants for Food Vendors in King Mongkut's University of Technology Thonburi
Author(s)
Other Contributor(s)
Abstract
การวิจัยนี้เป็นการวิจัยเชิงทดลองมีวัตถุประสงค์เพื่อพัฒนาสื่อมัลติมีเดียเรื่องสารปนเปื้อนในอาหารสำหรับผู้ประกอบการอาหารในมหาวิทยาลัยเทคโนโลยีพระจอมเกล้าธนบุรีและเพื่อประเมินคุณภาพสื่อมัลติมีเดียเรื่องสารปนเปื้อนในอาหารสาหรับผู้ประกอบการอาหารในมหาวิทยาลัยเทคโนโลยีพระจอมเกล้าธนบุรี โดยทำการศึกษาแนวคิด ทฤษฎี รวมทั้งเอกสารและงานวิจัยที่เกี่ยวข้อง เพื่อประยุกต์ใช้เป็นข้อมูลสำหรับพัฒนาสื่อมัลติมีเดีย และนำสื่อมัลติมีเดียที่พัฒนาขึ้น ไปให้ผู้เชี่ยวชาญทำการศึกษา ประเมินคุณภาพ และทำการปรับปรุงสื่อมัลติมีเดียตามข้อเสนอแนะของผู้เชี่ยวชาญ ก่อนนำไปทดลองกับกลุ่มตัวอย่าง คือ ผู้ประกอบการจำหน่ายอาหารในมหาวิทยาลัยเทคโนโลยีพระจอมเกล้าธนบุรี ผลการศึกษา สรุปรายละเอียดได้ดังนี้
ผลการประเมินคุณภาพสื่อมัลติมีเดียโดยผู้เชี่ยวชาญ มีความเห็นว่า สื่อมัลติมีเดียมีคุณภาพโดยรวมทั้ง 3 ด้านคือ ด้านส่วนนำ ด้านเนื้อหา และด้านรูปแบบการนำเสนออยู่ในระดับมากที่สุด และเมื่อพิจารณาในรายด้าน พบว่า ด้านเนื้อหาเป็นด้านที่มีคุณภาพมากที่สุด รองลงมาได้แก่ ด้านรูปแบบการนำเสนอ และด้านส่วนนำ ตามลำดับ ด้านผลสัมฤทธิ์ของสื่อมัลติมีเดีย พบว่า กลุ่มตัวอย่างมีผลการทดสอบหลังเรียนมากกว่าก่อนเรียน แสดงว่า มีความก้าวหน้าทางการเรียน และมีค่าเฉลี่ยของความก้าวหน้าทางการเรียนเป็นร้อยละ 60.71 และเมื่อทดสอบความแตกต่างของระดับคะแนนก่อนและหลังเรียน พบว่า ระดับคะแนนหลังเรียนมีระดับที่สูงกว่าคะแนนก่อนเรียน อย่างมีนัยสำคัญทางสถิติที่ระดับ 0.05 ระดับความพึงพอใจของกลุ่มตัวอย่างที่มีต่อสื่อมัลติมีเดีย พบว่า กลุ่มตัวอย่างมีความพึงพอใจโดยรวมอยู่ในระดับมากที่สุด และเมื่อพิจารณาในรายด้าน พบว่า ด้านรูปแบบการนำเสนอ เป็นด้านที่กลุ่มตัวอย่างมีความพึงพอใจมากที่สุด รองลงมาได้แก่ ด้านเนื้อหา และด้านส่วนนำ ตามลำดับ
This study aimed to develop multimedia about contaminants in food, and to evaluate the quality of the multimedia for KMUTT food vendors. The media was designed based on relevant literature, evaluated by experts, and improved according to experts’ suggestions before being given to research samples. The sample of this study was cafeteria owners in King Mongkut’s University of Technology Thonburi’s cafeteria. The results could be concluded as follows: In terms of the quality of multimedia, the experts agreed that the media had the highest quality in all aspects (introduction, content, and presentation style). In consideration of each aspect, the media content showed the highest quality, while presentation style and introduction were the second and the third highest, respectively. In terms of the quality of multimedia media, the post-test scores were higher than pre-test scores, indicating that there was a learning progress (mean = 60.71). The pre and post-test scores were statistically different at 0.05. In terms of the satisfaction towards the teaching media, the overall satisfaction was at the highest level. In consideration of each aspect, the presentation style was reported to have the highest satisfaction, whereas material content and introduction were the second and the third highest, respectively.
This study aimed to develop multimedia about contaminants in food, and to evaluate the quality of the multimedia for KMUTT food vendors. The media was designed based on relevant literature, evaluated by experts, and improved according to experts’ suggestions before being given to research samples. The sample of this study was cafeteria owners in King Mongkut’s University of Technology Thonburi’s cafeteria. The results could be concluded as follows: In terms of the quality of multimedia, the experts agreed that the media had the highest quality in all aspects (introduction, content, and presentation style). In consideration of each aspect, the media content showed the highest quality, while presentation style and introduction were the second and the third highest, respectively. In terms of the quality of multimedia media, the post-test scores were higher than pre-test scores, indicating that there was a learning progress (mean = 60.71). The pre and post-test scores were statistically different at 0.05. In terms of the satisfaction towards the teaching media, the overall satisfaction was at the highest level. In consideration of each aspect, the presentation style was reported to have the highest satisfaction, whereas material content and introduction were the second and the third highest, respectively.