Publication: Condom use at last sex and associated factors among male migrant workers in a coastal area of Thanbyuzayat Township, Mon State, Myanmar
Issued Date
2018
Resource Type
Language
eng
ISSN
1905-1387
Rights
Mahidol University
Rights Holder(s)
ASEAN Institute for Health Development Mahidol University
Bibliographic Citation
Journal of Public Health and Development. Vol.16, No.3 (Sep-Dec 2018), 15-28
Suggested Citation
Kyi Tun Lwin, Seo Ah Hong, Bang-On Thepthien, กรี ตัน วินส์, โซ อะ หงษ์, บังอร เทพเทียน Condom use at last sex and associated factors among male migrant workers in a coastal area of Thanbyuzayat Township, Mon State, Myanmar. Journal of Public Health and Development. Vol.16, No.3 (Sep-Dec 2018), 15-28. Retrieved from: https://repository.li.mahidol.ac.th/handle/20.500.14594/62146
Research Projects
Organizational Units
Authors
Journal Issue
Thesis
Title
Condom use at last sex and associated factors among male migrant workers in a coastal area of Thanbyuzayat Township, Mon State, Myanmar
Alternative Title(s)
การใช้ถุงยางอนามัยในการมีเพศสัมพันธ์ครั้งล่าสุดและปัจจัยที่เกี่ยวข้องของกลุ่มแรงงานย้ายถิ่นเพศชายในเขตชายฝั่งของเขตตันบิวสะแยต, รัฐมอญ ประเทศพม่า
Other Contributor(s)
Abstract
Migrants have been considered at risk of acquiring and spreading HIV infection as bridging populations.
Condom use is considered an effective strategy in protecting against transmission of sexually transmitted
infections (STI), including HIV. Therefore, this study aimed to explore the prevalence and factors associated
with condom use at last sex among male migrant workers in a coastal area of Thanbyuzayat Township, Mon
State, Myanmar.
A community-based cross-sectional study was conducted from April to May 2018. A total of 420 male
migrant workers of sexually active age (18-49 years) who had sex within the last 12 months were selected
by cluster random sampling. The data were collected by a face-to-face interview with structured questionnaires.
The questionnaires were developed according to social cognitive theory (SCT) consisting of three
major components: socio-environmental factors, psycho-social factors and condom use behavior at last sex.
Prevalence of condom use at last sex was 21.2%. Younger age group (Adj OR=2.88, 95% CI =1.38-
6.01), migrants from other regions (Adj OR=2.40, 95% CI=1.15-5.01), length of stay less than 1 year
(Adj OR=2.40, 95% CI=1.31-4.40), not currently married or living with a partner (Adj OR=5.13, 95% CI
=2.85-9.24), condom accessibility [Fair (Adj OR=2.42, 95%CI =1.08-5.40) and Easy (Adj OR=2.96, 95%
CI=1.49-5.89)], poor knowledge about condom use (Adj OR=3.74, 95% CI =1.95-7.15) and positive partner
expected outcomes (Adj OR=2.09, 95% CI =1.19-3.68) were associated with condom use at last sex. The
key finding of this study suggests that provision of HIV service packages to migrant clusters, including
condom distribution is needed.
ลุ่มประชากรแรงงานย้ายถิ่นได้รับการพิจารณาว่ามีความเชื่อมโยงที่จะเสี่ยงได้รับเชื้อไวรัสเอชไอวี การใช้ถุงยาง อนามัยถือว่าเป็นกลยุทธ์ที่มีประสิทธิภาพในการป้องกันการแพร่เชื้อโรคติดต่อทางเพศสัมพันธ์ รวมทั้งเอชไอวี ดังนั้นการศึกษาครั้งนี้จึงมีวัตถุประสงค์เพื่อศึกษาความชุกและปัจจัยที่มีผลต่อการใช้ถุงยางอนามัยในเพศสัมพันธ์ครั้งสุดท้ายของกลุ่มประชากรแรงงานย้ายถิ่นเพศชายในเขตชายฝั่งของเมือง ตันบิวสะแยต รัฐมอญประเทศพม่า การศึกษาครั้งนี้เป็นการศึกษาแบบภาคตัดขวางโดยใช้ชุมชนเป็นฐาน ดำเนินการเก็บรวบรวมข้อมูลในเดือนเมษายนและพฤษภาคม 2561 กลุ่มตัวอย่างมีอายุ 18-49 ปีที่มีเพศสัมพันธ์ในช่วง 12 เดือนที่ผ่านมาจำนวน 420 คน ข้อมูลถูกเก็บรวบรวมโดยวิธีการสัมภาษณ์กับแบบสอบถามที่มีโครงสร้าง แบบสอบถามได้รับการพัฒนาตามทฤษฎีความรู้ความเข้าใจทางสังคมซึ่งประกอบด้วยองค์ประกอบหลักสามส่วนได้แก่ ปัจจัยทางสังคมและ สิ่งแวดล้อม ปัจจัยทางจิตสังคมและพฤติกรรมการใช้ถุงยางอนามัยที่มีเพศสัมพันธ์ครั้งสุดท้าย ความชุกของการใช้ถุงยางอนามัยในเพศสัมพันธ์ครั้งสุดท้ายเท่ากับ 21.2% ปัจจัยที่มีความสัมพันธ์กับการใช้ถุงยางอนามัยในเพศสัมพันธ์ครั้งสุดท้ายได้แก่ กลุ่มอายุน้อย (Adj OR = 2.88, 95% CI = 1.38-6.01), ผู้ที่ย้ายถิ่นมาจากภูมิภาคอื่นๆ (Adj OR = 2.40, 95% CI = 1.15-5.01) ระยะเวลาที่อาศัยในชุมชนน้อยกว่า 1 ปี (Adj OR = 2.40, 95% CI = 1.31-4.40) ปัจจุบันยังไม่แต่งงานหรืออยู่ร่วมกับคู่นอน (Adj OR = 5.13, 95% CI = 2.85-9.24) ความสามารถในการเข้าถึงถุงยางอนามัยระดับปานกลางและง่าย [Fair (Adj OR = 2.42, 95% CI = 1.08-5.40) และ Easy (Adj OR = 2.96, 95% CI = 1.49-5.89)] ความรู้เกี่ยวกับการใช้ถุงยางอนามัยน้อย (Adj OR = 3.74, 95% CI = 1.95-7.15) และความคาดหวังการใช้ถุงยางอนามัยกับคู่นอนในทางบวก (Adj OR = 2.09, 95% CI = 1.19-3.68) ข้อค้นพบที่สำคัญของการศึกษาครั้งนี้แสดงว่าควรมีการจัดเตรียมชุดบริการด้านการป้องกันเอชไอวีให้แก่กลุ่ม ผู้ย้ายถิ่นซึ่งรวมถึงการแจกถุงยางอนามัยโดยเฉพาะคู่สมรส
ลุ่มประชากรแรงงานย้ายถิ่นได้รับการพิจารณาว่ามีความเชื่อมโยงที่จะเสี่ยงได้รับเชื้อไวรัสเอชไอวี การใช้ถุงยาง อนามัยถือว่าเป็นกลยุทธ์ที่มีประสิทธิภาพในการป้องกันการแพร่เชื้อโรคติดต่อทางเพศสัมพันธ์ รวมทั้งเอชไอวี ดังนั้นการศึกษาครั้งนี้จึงมีวัตถุประสงค์เพื่อศึกษาความชุกและปัจจัยที่มีผลต่อการใช้ถุงยางอนามัยในเพศสัมพันธ์ครั้งสุดท้ายของกลุ่มประชากรแรงงานย้ายถิ่นเพศชายในเขตชายฝั่งของเมือง ตันบิวสะแยต รัฐมอญประเทศพม่า การศึกษาครั้งนี้เป็นการศึกษาแบบภาคตัดขวางโดยใช้ชุมชนเป็นฐาน ดำเนินการเก็บรวบรวมข้อมูลในเดือนเมษายนและพฤษภาคม 2561 กลุ่มตัวอย่างมีอายุ 18-49 ปีที่มีเพศสัมพันธ์ในช่วง 12 เดือนที่ผ่านมาจำนวน 420 คน ข้อมูลถูกเก็บรวบรวมโดยวิธีการสัมภาษณ์กับแบบสอบถามที่มีโครงสร้าง แบบสอบถามได้รับการพัฒนาตามทฤษฎีความรู้ความเข้าใจทางสังคมซึ่งประกอบด้วยองค์ประกอบหลักสามส่วนได้แก่ ปัจจัยทางสังคมและ สิ่งแวดล้อม ปัจจัยทางจิตสังคมและพฤติกรรมการใช้ถุงยางอนามัยที่มีเพศสัมพันธ์ครั้งสุดท้าย ความชุกของการใช้ถุงยางอนามัยในเพศสัมพันธ์ครั้งสุดท้ายเท่ากับ 21.2% ปัจจัยที่มีความสัมพันธ์กับการใช้ถุงยางอนามัยในเพศสัมพันธ์ครั้งสุดท้ายได้แก่ กลุ่มอายุน้อย (Adj OR = 2.88, 95% CI = 1.38-6.01), ผู้ที่ย้ายถิ่นมาจากภูมิภาคอื่นๆ (Adj OR = 2.40, 95% CI = 1.15-5.01) ระยะเวลาที่อาศัยในชุมชนน้อยกว่า 1 ปี (Adj OR = 2.40, 95% CI = 1.31-4.40) ปัจจุบันยังไม่แต่งงานหรืออยู่ร่วมกับคู่นอน (Adj OR = 5.13, 95% CI = 2.85-9.24) ความสามารถในการเข้าถึงถุงยางอนามัยระดับปานกลางและง่าย [Fair (Adj OR = 2.42, 95% CI = 1.08-5.40) และ Easy (Adj OR = 2.96, 95% CI = 1.49-5.89)] ความรู้เกี่ยวกับการใช้ถุงยางอนามัยน้อย (Adj OR = 3.74, 95% CI = 1.95-7.15) และความคาดหวังการใช้ถุงยางอนามัยกับคู่นอนในทางบวก (Adj OR = 2.09, 95% CI = 1.19-3.68) ข้อค้นพบที่สำคัญของการศึกษาครั้งนี้แสดงว่าควรมีการจัดเตรียมชุดบริการด้านการป้องกันเอชไอวีให้แก่กลุ่ม ผู้ย้ายถิ่นซึ่งรวมถึงการแจกถุงยางอนามัยโดยเฉพาะคู่สมรส