Publication:
ความรอบรู้ทางโภชนาการในนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 3 ในโรงเรียนสังกัดกรุงเทพมหานคร

dc.contributor.authorพรวิภา ศิริพิชญ์ตระกูลen_US
dc.contributor.authorภรณี วัฒนสมบูรณ์en_US
dc.contributor.authorวราภรณ์ เสถียรนพเก้าen_US
dc.contributor.authorดุสิต สุจิรารัตน์en_US
dc.contributor.authorPornwipa Siripitchtrakulen_US
dc.contributor.authorParanee Vatanasomboonen_US
dc.contributor.authorWarapone Satheannoppakaoen_US
dc.contributor.authorDusit Sujiraraten_US
dc.contributor.otherมหาวิทยาลัยมหิดล. คณะสาธารณสุขศาสตร์. ภาควิชาสุขศึกษาและพฤติกรรมศาสตร์en_US
dc.contributor.otherมหาวิทยาลัยมหิดล. คณะสาธารณสุขศาสตร์. ภาควิชาโภชนวิทยาen_US
dc.contributor.otherมหาวิทยาลัยมหิดล. คณะสาธารณสุขศาสตร์. ภาควิชาระบาดวิทยาen_US
dc.date.accessioned2021-09-24T06:18:39Z
dc.date.available2021-09-24T06:18:39Z
dc.date.created2564-09-24
dc.date.issued2563
dc.description.abstractความรอบรู้ทางโภชนาการเป็นประเด็นเฉพาะ ภายใต้แนวคิดความรอบรู้ทางโภชนาการที่กำลัง เป็นที่สนใจสำหรับการป้องกันโรคเรื้อรังที่สัมพันธ์กับ การบริโภคอาหาร การวิจัยเชิงสำรวจแบบตัดขวางนี้ มีวัตถุประสงค์เพื่อศึกษาระดับความรอบรู้ทางโภชนาการ และปัจจัยที่เกี่ยวข้องในนักเรียนระดับชั้นมัธยมศึกษา ปีที่ 3 โรงเรียนสังกัดกรุงเทพมหานคร เก็บรวบรวม ข้อมูลโดยใช้แบบสอบถามชนิดตอบด้วยตนเอง จากกลุ่มตัวอย่าง 535 คน วิเคราะห์ความสัมพันธ์ ระหว่างตัวแปรที่ศึกษาด้วยสถิติทดสอบไคสแควร์ และสถิติวิเคราะห์การถดถอยโลจิสติกส์แบบทวิ ผลการศึกษาพบ ร้อยละ 38.9 ของกลุ่มตัวอย่าง เท่านั้นที่มีความรอบรู้ทางโภชนาการในระดับเพียงพอ นอกนั้นอยู่ในระดับพอใช้ (ร้อยละ 38.3) และไม่ เพียงพอ (ร้อยละ 22.8) การวิเคราะห์การถดถอย โลจิสติกส์แบบทวิพบว่า ความรอบรู้ทางโภชนาการ ที่เพียงพอสัมพันธ์อย่างมีนัยสำคัญกับเกรดเฉลี่ย สะสมมากกว่าสามขึ้นไป (OR = 2.26, 95% CI = 1.28 – 4.00) เพศหญิง (OR = 1.86, 95% CI = 1.23 – 2.82) และการใช้แหล่งข้อมูลจากสื่อออนไลน์ ทางเว็บไซต์ (OR = 1.59, 95% CI = 1.62 – 2.47) และสื่อสังคมออนไลน์ (OR = 2.48, 95% CI = 1.45 – 4.24) ในการค้นหาข้อมูลด้านโภชนาการ ผลการศึกษาชี้ให้เห็นความจำเป็นในการพัฒนา ความรอบรู้ทางโภชนาการของนักเรียน โดยเฉพาะ ในนักเรียนชายและนักเรียนที่มีผลการเรียนต่ำ การสื่อสารข้อมูลโภชนาการที่เชื่อถือได้ผ่านสื่อออนไลน์ ในรูปแบบต่างๆ สามารถเป็นทางเลือกหนึ่งที่เป็นไปได้ ในการยกระดับความรอบรู้ทางโภชนาการen_US
dc.description.abstractNutrition literacy (NL) is a specific issue under the concept of health literacy which has become of interest for prevention of chronic diseases related to food consumption. This cross-sectional survey research aimed to examine the NL level and its associated factors among the grade 9 students in Bangkok metropolitan administration schools. Data were collected from 535 students using a self-administered questionnaire. Chi-squire test and binary logistic regression analysis were performed to examine the relationship among the study variables. The results showed only 38.9 percent of the sample group had an adequate level of NL, and the rest had fair (38.3%) and inadequate levels (22.8%). Binary logistic regression analysis revealed that the adequate NL level was significantly associated with a cumulative grade point average of 3 and above (OR = 2.26, 95% CI = 1.28 – 4.00), being female (OR = 1.86, 95% CI = 1.23 – 2.82) and use of online media i.e. website (OR = 1.59, 95% CI = 1.62 – 2.47) and social media (OR = 2.48, 95% CI = 1.45 – 4.24) for searching nutrition information. The findings indicate the needs of NL development, especially among male students and those with a low cumulative grade point average. Communicating reliable nutrition information through different types of online media could be one of the possible ways of enhancing nutrition literacy.en_US
dc.identifier.citationวารสารสาธารณสุขศาสตร์. ปีที่ 50, ฉบับที่ 1 (ม.ค.-เม.ย. 2563), 61-75en_US
dc.identifier.issn2697-584X (Print)
dc.identifier.issn2697-5866 (Online)
dc.identifier.urihttps://repository.li.mahidol.ac.th/handle/20.500.14594/63656
dc.language.isothaen_US
dc.rightsมหาวิทยาลัยมหิดลen_US
dc.rights.holderภาควิชาสุขศึกษาและพฤติกรรมศาสตร์ คณะสาธารณสุขศาสตร์ มหาวิทยาลัยมหิดลen_US
dc.rights.holderภาควิชาโภชนวิทยา คณะสาธารณสุขศาสตร์ มหาวิทยาลัยมหิดลen_US
dc.rights.holderภาควิชาระบาดวิทยา คณะสาธารณสุขศาสตร์ มหาวิทยาลัยมหิดลen_US
dc.subjectความรอบรู้ทางโภชนาการen_US
dc.subjectนักเรียนมัธยมศึกษาปีที่ 3en_US
dc.subjectโรงเรียนสังกัดกรุงเทพมหานครen_US
dc.subjectNutrition literacyen_US
dc.subjectGrade 9 studentsen_US
dc.subjectBangkok Metropolitan Administration schoolen_US
dc.titleความรอบรู้ทางโภชนาการในนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 3 ในโรงเรียนสังกัดกรุงเทพมหานครen_US
dc.title.alternativeNutrition Literacy among Grade 9 Students of Bangkok Metropolitan Administration Schoolsen_US
dc.typeOriginal Articleen_US
dspace.entity.typePublication
mods.location.urlhttps://he02.tci-thaijo.org/index.php/jph/article/view/238944/164975

Files

Original bundle

Now showing 1 - 1 of 1
Thumbnail Image
Name:
ph-ar-aranee-2563.pdf
Size:
4.22 MB
Format:
Adobe Portable Document Format

License bundle

Now showing 1 - 1 of 1
No Thumbnail Available
Name:
license.txt
Size:
1.71 KB
Format:
Item-specific license agreed upon to submission
Description:

Collections