Publication: การพัฒนาความสามารถในการดูแลตนเองของผู้เป็นเบาหวานที่กลัวภาวะน้ำตาลต่ำในเลือดจากการฉีดอินซูลิน: กรณีศึกษา
dc.contributor.author | รัตนาภรณ์ จีระวัฒนะ | en_US |
dc.contributor.author | อภิญญา ศิริพิทยาคุณกิจ | en_US |
dc.contributor.author | Ratanaporn Jerawatana | en_US |
dc.contributor.author | Apinya Siripitayakunkits | en_US |
dc.contributor.other | มหาวิทยาลัยมหิดล. คณะแพทยศาสตร์โรงพยาบาลรามาธิบดี. โรงเรียนพยาบาลรามาธิบดี. สาขาการพยาบาลอายุรศาสตร์-ศัลยศาสตร์ | en_US |
dc.date.accessioned | 2019-10-24T08:58:42Z | |
dc.date.available | 2019-10-24T08:58:42Z | |
dc.date.created | 2562-10-24 | |
dc.date.issued | 2559 | |
dc.description.abstract | ความกลัวภาวะน้ำตาลต่ำในเลือดของผู้เป็นเบาหวานที่ได้รับการรักษาด้วยการฉีดยา อินซูลินเป็นปรากฎการณ์ทางคลินิกที่พบได้บ่อย ซึ่งความกลัวภาวะน้ำตาลต่ำในเลือดนี้จะมีอิทธิพล ต่อการปฏิบัติตนในการควบคุมระดับน้ำตาลในเลือด มีผลต่อประสิทธิภาพของการรักษา และคุณภาพ ชีวิตของผู้ป่วย การใช้แนวคิดทฤษฏีทางการพยาบาลของโอเร็มและเทคนิคเสริมสร้างแรงจูงใจใน การปรับเปลี่ยนพฤติกรรมร่วมกับการใช้หลักฐานเชิงประจักษ์สนับสนุนให้ผู้ป่วยพัฒนาความสามารถ ในการดูแลตนเองเพื่อแก้ไขภาวะน้ำตาลต่ำในเลือดอย่างเหมาะสมถือเป็นเรื่องสำคัญ บทความนี้นำ เสนอกรณีตัวอย่างผู้ป่วยและการปฏิบัติทางการพยาบาลในบทบาทของผู้ปฏิบัติการพยาบาลขั้นสูง ในการพัฒนาความสามารถในการดูแลตนเองของผู้เป็นเบาหวานที่กลัวภาวะน้ำตาลต่ำในเลือดจาก การฉีดอินซูลิน โดยอาศัยระบบการพยาบาลแบบสนับสนุนและให้ความรู้มีการสร้างสัมพันธภาพที่ ดีการให้เกียรติผู้ป่วย และเข้าใจถึงพฤติกรรมที่ผู้ป่วยแสดงออก กระตุ้นให้ผู้ป่วยเข้าใจสถานการณ์ และตระหนักถึงปัญหา ยิ่งไปกว่านั้นผู้ปฏิบัติการพยาบาลขั้นสูงควรให้ความรู้ที่เฉพาะเจาะจงและฝึก ทักษะ ควบคู่ไปกับการเสริมพลังในการตัดสินใจเพื่อปฏิบัติการดูแลตนเอง จัดหาแหล่งประโยชน์ และมีการติดตามอาการน้ำตาลต่ำในเลือดและระดับน้ำตาลในเลือด ให้กำลังใจและสนับสนุนเสริม สร้างความมั่นใจในการประเมินตนเองเพื่อลดความกลัวภาวะน้ำตาลต่ำในเลือดของผู้ป่วย กิจกรรม การพยาบาลเหล่านี้จะช่วยให้ผู้ป่วยมีความสามารถในการดูแลตนเองอย่างเหมาะสม และควบคุม ระดับน้ำตาลในเลือดให้เข้าใกล้ค่าปกติป้องกันและชะลอภาวะแทรกซ้อนและส่งเสริมให้เกิดคุณภาพ ชีวิตที่ดี | en_US |
dc.description.abstract | Fear of hypoglycemia in patients with diabetes receiving insulin administration is a common phenomenon in clinical practice. Hypoglycemic episodes can affect persons' health, adherence to treatment regimens, and quality of life. Orem's Self-Care theory, the motivational interviewing technique, and the evidence-based approach are important to improve patients' self-care abilities. This article presents a case study of a patient with diabetes fearing of hypoglycemia and roles of advanced practice nurses (APNs) in incorporating multiple helping methods in order to develop the patient's self-care agency. Promoting self-care agency requires an educative-supportive nursing system, a good patient-provider relationship, empathy expression to patients' behavior, motivating patients to understand themselves and aware of their situation. Moreover, APNs should provide substantive knowledge and skills training, empower patients to make decision and perform self-care, facilitate resource mobilization, monitor signs of hypoglycemia and the blood glucose level, encourage patients' self-assessment, and affirm their self-confidence to minimize fear of hypoglycemia. These approaches would help them maintain self-care appropriately and improve glycemic control to prevent diabetic complications, and promote their quality of life. | en_US |
dc.identifier.citation | รามาธิบดีพยาบาลสาร. ปีที่ 22, ฉบับที่ 3 (ก.ย.-ธ.ค. 2559), 233-246 | en_US |
dc.identifier.issn | 0858-9739 (Print) | |
dc.identifier.issn | 2672-9784 (Online) | |
dc.identifier.uri | https://repository.li.mahidol.ac.th/handle/20.500.14594/47960 | |
dc.language.iso | tha | en_US |
dc.rights | มหาวิทยาลัยมหิดล | en_US |
dc.rights.holder | สาขาการพยาบาลอายุรศาสตร์-ศัลยศาสตร์ โรงเรียนพยาบาลรามาธิบดี คณะแพทยศาสตร์โรงพยาบาลรามาธิบดี มหาวิทยาลัยมหิดล | en_US |
dc.subject | ผู้ปฏิบัติการพยาบาลขั้นสูง | en_US |
dc.subject | ความกลัวภาวะน้ำตาลต่ำในเลือด | en_US |
dc.subject | การสร้างแรงจูงใจ | en_US |
dc.subject | การฉีดอินซูลิน | en_US |
dc.subject | การดูแลตนเอง | en_US |
dc.subject | Advanced practice nurse | en_US |
dc.subject | Fear of hypoglycemia | en_US |
dc.subject | Motivation | en_US |
dc.subject | Insulin administration | en_US |
dc.subject | Self-care | en_US |
dc.title | การพัฒนาความสามารถในการดูแลตนเองของผู้เป็นเบาหวานที่กลัวภาวะน้ำตาลต่ำในเลือดจากการฉีดอินซูลิน: กรณีศึกษา | en_US |
dc.title.alternative | Development of Self-care Agency in Diabetic Patient with Fear of Hypoglycemia from Insulin Administration: A case study | en_US |
dc.type | Article | en_US |
dspace.entity.type | Publication | |
mods.location.url | https://www.tci-thaijo.org/index.php/RNJ/article/view/77011/61845 |