Publication: ผลของโปรแกรมให้ข้อมูลแบบรูปธรรม-ปรนัยต่อความวิตกกังวลและภาวะการทำหน้าที่ในผู้ป่วยมะเร็งต่อมน้ำเหลืองที่ได้รับยาเคมีบำบัด
dc.contributor.author | พิจิตรา เล็กดําารงกุล | en_US |
dc.contributor.author | คนึงนิจ พงศ์ถาวรกมล | en_US |
dc.contributor.author | นพดล ศิริธนารัตนกุล | en_US |
dc.contributor.author | ศิวพร ศิริภูล | en_US |
dc.contributor.author | เพ็ญใจ จิตรนําาทรัพย์ | en_US |
dc.contributor.author | Pichitra Lekdamrongkul | en_US |
dc.contributor.author | Kanaungnit Pongthavornkamol | en_US |
dc.contributor.author | Siritanaratkul Siritanaratkul | en_US |
dc.contributor.author | Siwaporn Siripoon | en_US |
dc.contributor.author | Penjai Jitnumsub | en_US |
dc.contributor.other | มหาวิทยาลัยมหิดล. คณะพยาบาลศาสตร์ | en_US |
dc.contributor.other | มหาวิทยาลัยมหิดล. คณะพยาบาลศาสตร์. ภาควิชาการพยาบาลอายุรศาสตร์ | en_US |
dc.contributor.other | มหาวิทยาลัยมหิดล. คณะแพทยศาสตร์ศิริราชพยาบาล | en_US |
dc.date.accessioned | 2020-04-17T04:44:09Z | |
dc.date.available | 2020-04-17T04:44:09Z | |
dc.date.created | 2563-04-17 | |
dc.date.issued | 2563 | |
dc.description.abstract | วัตถุประสงค์: เพื่อศึกษาผลของโปรแกรมให้ข้อมูลเชิงรูปธรรม-ปรนัยต่อความวิตกกังวลและภาวะการทำหน้าที่ของร่างกายในผู้ป่วยมะเร็งต่อมน้ำเหลืองระหว่างและหลังได้รับยาเคมีบำบัด รูปแบบการวิจัย: การวิจัยกึ่งทดลอง วิธีดำเนินการวิจัย: กลุ่มตัวอย่างเป็นผู้ป่วยมะเร็งต่อมน้ำเหลืองที่ได้รับยาเคมีบำบัดแบบผู้ป่วยในจำนวน 68 ราย ได้รับการจัดเข้ากลุ่มทดลองและกลุ่มควบคุมกลุ่มละ 34 รายโดยกลุ่มทดลองได้รับโปรแกรมข้อมูลเชิงรูปธรรม-ปรนัย ประกอบด้วย ดีวีดีการ์ตูนแอนนิเมชั่น หนังสือคู่มือ และคำแนะนำและกระตุ้นการปฏิบัติทางโทรศัพท์ ส่วนกลุ่มควบคุมได้รับการพยาบาลตามปกติ เก็บรวบรวมข้อมูล 3 ช่วงเวลา: ก่อนเริ่มต้นโปรแกรม (วัดครั้งที่ 1) 2 สัปดาห์และ 6 เดือนหลังเข้าร่วมโปรแกรม (วัดครั้งที่ 2 และ 3 ตามลำดับ) เครื่องมือในการเก็บรวบรวมข้อมูล ได้แก่ แบบวัดความวิตกกังวลขณะเผชิญ และแบบประเมินภาวะการทำหน้าที่ของร่างกาย วิเคราะห์ข้อมูลใช้สถิติ one-way repeated measures ANOVA and repeated measures ANCOVA test ผลการวิจัย: กลุ่มทดลองมีแนวโน้มของค่าคะแนนความวิตกกังวลลดลงและคะแนนภาวะการทำหน้าที่ของร่างกายสูงกว่ากลุ่มควบคุมในช่วงเวลา 2 สัปดาห์ ผลความแตกต่างนี้พบมีนัยสำคัญทางสถิติที่ช่วงระยะเวลา 6 เดือนหลังได้รับโปรแกรม สรุปและข้อเสนอแนะ: ผลการศึกษาวิจัยสนับสนุนว่าโปรแกรมข้อมูลเชิงรูปธรรม-ปรนัยร่วมกับคำแนะนำและกระตุ้นทางโทรศัพท์อย่างเพียงพอมีประสิทธิผลต่อการลดความวิตกกังวลและธำรงภาวะการทำหน้าที่ของร่างกายในผู้ป่วยมะเร็งต่อมน้ำเหลืองระหว่างการรักษา พยาบาลควรนำรูปแบบการให้ข้อมูลเชิงรูปธรรม-ปรนัยไปใช้ในการเตรียมผู้ป่วยมะเร็งระบบโลหิตวิทยาให้สามารถเผชิญความเครียดได้อย่างมีประสิทธิภาพในระหว่างและภายหลังได้รับยาเคมีบำบัด | en_US |
dc.description.abstract | Purpose: To examine the effects of a concrete-objective information program on anxiety and functional status among individuals with lymphoma during and after chemotherapy. Design: Quasi-experimental design. Methods: The sample consisted of 68 lymphoma patients receiving chemotherapy; 34 participants were assigned to experimental group and the other half of participants to control group. The experimental group received a concrete-objective information program consisting of animation cartoon DVD, booklet, and telephone coaching while the control group received a usual care. Data were collected at three times: baseline prior to the intervention (T1), at two weeks and at six months after participating the program (T2 and T3 respectively). Research instruments for data collection were State-Trait Anxiety Inventory (Form Y-1) and Functional Living Index Cancer (FLIC). One-way repeated measures ANOVA and repeated measures ANCOVA test were used for data analysis. Main findings: The participants in experimental group tended to have lower anxiety scores and higher physical activity scores than those in the control group at 2 weeks, and the differences reached statistical significance at 6 months after receiving the program. Conclusion and recommendations: These findings suggested that concrete-objective information program with adequate telephone coaching could be an efficacious informational intervention for helping patients with lymphoma to improve/maintain their functional status and decrease their anxiety during cancer treatment. Nurses should provide concrete-objective information in preparing patients with hematologic cancer to cope effectively during and after chemotherapy. | en_US |
dc.description.sponsorship | โครงการวิจัยได้รับทุนจากเงินกองทุน ซี.เอ็ม.บี. คณะพยาบาลศาสตร์ มหาวิทยาลัยมหิดล | en_US |
dc.identifier.citation | วารสารพยาบาลศาสตร์. ปีที่ 38, ฉบับที่ 1 (ม.ค. - มี.ค 2563), 19-34 | en_US |
dc.identifier.uri | https://repository.li.mahidol.ac.th/handle/20.500.14594/54242 | |
dc.language.iso | tha | en_US |
dc.rights | มหาวิทยาลัยมหิดล | en_US |
dc.rights.holder | คณะพยาบาลศาสตร์ มหาวิทยาลัยมหิดล | en_US |
dc.subject | ความวิตกกังวล | en_US |
dc.subject | เคมีบำบัด | en_US |
dc.subject | ข้อมูลแบบรูปธรรม-ปรนัย | en_US |
dc.subject | ภาวะการทำหน้าที่ | en_US |
dc.subject | มะเร็งต่อมน้ำเหลือง | en_US |
dc.subject | anxiety | en_US |
dc.subject | chemotherapy | en_US |
dc.subject | concrete-objective information | en_US |
dc.subject | functional status | en_US |
dc.subject | lymphoma | en_US |
dc.subject | วารสารพยาบาลศาสตร์ | en_US |
dc.subject | Journal of Nursing Science | en_US |
dc.subject | Nursing Science Journal of Thailand | en_US |
dc.title | ผลของโปรแกรมให้ข้อมูลแบบรูปธรรม-ปรนัยต่อความวิตกกังวลและภาวะการทำหน้าที่ในผู้ป่วยมะเร็งต่อมน้ำเหลืองที่ได้รับยาเคมีบำบัด | en_US |
dc.title.alternative | The Effects of Concrete-objective Information Program on Anxiety and Functional Status among Lymphoma Patients Receiving Chemotherapy | en_US |
dc.type | Research Article | en_US |
dspace.entity.type | Publication | |
mods.location.url | https://he02.tci-thaijo.org/index.php/ns/article/view/226380/164269 |