Publication:
ผลของโปรแกรมสุขศึกษาเพื่อส่งเสริมการบริโภคเครื่องดื่มรสหวานที่เหมาะสม ในนักเรียนชั้นประถมศึกษาปีที่ 5

dc.contributor.authorเกียรติศักดิ์ แหลมจริงen_US
dc.contributor.authorภรณี วัฒนสมบูรณ์en_US
dc.contributor.authorวราภรณ์ เสถียรนพเก้าen_US
dc.contributor.authorKiattisak Lamjingen_US
dc.contributor.authorParanee Vatanasomboonen_US
dc.contributor.authorWarapone Sateannoppakaoen_US
dc.contributor.otherมหาวิทยาลัยมหิดล. คณะสาธารณสุขศาสตร์. ภาควิชาสุขศึกษาและพฤติกรรมศาสตร์en_US
dc.contributor.otherมหาวิทยาลัยมหิดล. คณะสาธารณสุขศาสตร์. ภาควิชาโภชนวิทยาen_US
dc.date.accessioned2020-12-02T04:26:41Z
dc.date.available2020-12-02T04:26:41Z
dc.date.created2563-12-02
dc.date.issued2562
dc.description.abstractการบริโภคเครื่องดื่มรสหวานที่ไม่เหมาะสมของเด็กวัยเรียนสามารถส่งผลกระทบต่อสุขภาพของเด็กได้ การวิจัยนี้เป็นการศึกษากึ่งทดลองแบบสองกลุ่มวัดก่อนและหลังการทดลอง มีวัตถุประสงค์เพื่อศึกษาผลของโปรแกรมสุขศึกษาเพื่อส่งเสริมการบริโภคเครื่องดื่มรสหวานที่เหมาะสมในนักเรียนชั้นประถมศึกษา ปีที่ 5 กลุ่ม ตัวอย่าง จำนวน 66 คน แบ่งเป็น กลุ่มทดลอง 35 คน กลุ่มเปรียบเทียบ 31 คน กลุ่มทดลองได้รับกิจกรรมสุข ศึกษาซึ่งออกแบบตามแนวคิดทฤษฎีปัญญาสังคม 6 ครั้ง ส่วนกลุ่มเปรียบเทียบได้รับสุขศึกษาในการเรียนการสอนปกติ ระยะเวลาศึกษา 7 สัปดาห์ เก็บรวบรวมข้อมูลโดยใช้แบบสอบถามความรู้เกี่ยวกับเครื่องดื่มรสหวาน การรับรู้ความสามารถตนเองในการบริโภคเครื่องดื่มรสหวานที่เหมาะสม ความคาดหวังในผลลัพธ์ของการบริโภค เครื่องดื่มรสหวานที่เหมาะสมและพฤติกรรมการบริโภคเครื่องดื่มรสหวานที่เหมาะสม วิเคราะห์ข้อมูลด้วยสถิติ Chi-square test, Fisher’s Exact test, Independent sample t-test, Mann-Whitney U test, Paired sample t-test และ Z-test ผลการศึกษาพบว่ากลุ่มทดลองมีการเปลี่ยนแปลงความรู้เกี่ยวกับเครื่องดื่มรสหวาน การรับรู้ ความสามารถตนเองในการบริโภคเครื่องดื่มรสหวานที่เหมาะสมและความคาดหวังในผลลัพธ์ของการบริโภค เครื่องดื่มรสหวานที่เหมาะสม ดีขึ้นกว่าก่อนการทดลองและดีกว่ากลุ่มเปรียบเทียบอย่างมีนัยสาคัญทางสถิติ (p<.001) หลังการทดลองกลุ่มทดลองมีสัดส่วนการเปลี่ยนแปลงระดับพฤติกรรมที่ดีขึ้นมากกว่ากลุ่มเปรียบเทียบ อย่างมีนัยสาคัญทางสถิติ (p<.05) ผลการศึกษาแสดงว่า โปรแกรมสุขศึกษานี้มีประสิทธิผลและสามารถนำโปรแกรมนี้ไปประยุกต์ใช้ในการเรียนการสอนสุขศึกษาในโรงเรียนได้ อย่างไรก็ตามโปรแกรมนี้ยังจำเป็นต้องศึกษาซ้ำในการวิจัยครั้งต่อไปเพื่อยืนยันประสิทธิผลของโปรแกรมและการนำไปใช้ในกลุ่มเป้าหมายที่กว้างขึ้นen_US
dc.description.abstractInappropriate consumption of sugar-sweetened beverages of school children can affect their health. This quasi-experimental two-group pre/post-test design aimed to investigate the effects of health education program for promoting appropriate consumption of sugar-sweetened beverages among grade 5 students. Sixty-six students were recruited. The students were assigned to be an experimental group (n=35) and a comparison group (n=31). The six sessions of health education program which designed based on the Social Cognitive Theory were provided for the experimental group, while the comparison group received the usual school health education session. The study period was seven weeks. The data were collected using questionnaires about knowledge of sugar-sweetened beverages, perceived self-efficacy and outcome expectation for appropriate consumption of sugar-sweetened beverages and appropriate consumption behavior of sugar-sweetened beverages. Chi-square test, Fisher’s Exact test, Independent sample t-test, Mann- Whitney U test, Paired sample t-test, and Z-test were used for data analysis. The results showed that the experimental group had significantly better changes in knowledge of sugar-sweetened beverages, perceived self-efficacy and outcome expectation for appropriate consumption of sugar-sweetened beverages than those of pre-experiment and the comparison group (p< .001). Additionally, after the intervention, the experimental group showed significantly higher proportion of change in improved behavior levels than the comparison group did (p< .05). The research results demonstrated the effectiveness of the program, which could be applied for school health education. However, further retesting of the program is needed to confirm its effectiveness as well as a generalization view.en_US
dc.identifier.citationวารสารสุขศึกษา. ปีที่ 42, ฉบับที่ 1 (ม.ค.- มิ.ย. 2562), 93-105en_US
dc.identifier.urihttps://repository.li.mahidol.ac.th/handle/20.500.14594/60269
dc.language.isothaen_US
dc.rightsมหาวิทยาลัยมหิดลen_US
dc.rights.holderคณะสาธารณสุขศาสตร์ มหาวิทยาลัยมหิดลen_US
dc.subjectโปรแกรมสุขศึกษาen_US
dc.subjectเครื่องดื่มรสหวานen_US
dc.subjectการบริโภคที่เหมาะสมen_US
dc.subjectนักเรียนชั้นประถมศึกษาปีที่ 5en_US
dc.subjectHealth education programen_US
dc.subjectSugar-sweetened beveragesen_US
dc.subjectAppropriate consumptionen_US
dc.subjectGrade 5 Studentsen_US
dc.subjectJournal of Health Education
dc.titleผลของโปรแกรมสุขศึกษาเพื่อส่งเสริมการบริโภคเครื่องดื่มรสหวานที่เหมาะสม ในนักเรียนชั้นประถมศึกษาปีที่ 5en_US
dc.title.alternativeThe Effects of Health Education Program For Promoting Appropriate Consumption of Sugar-sweetened beverages among Grade 5 Studentsen_US
dc.typeResearch Articleen_US
dspace.entity.typePublication
mods.location.urlhttps://he01.tci-thaijo.org/index.php/muhed/article/view/187916

Files

Original bundle

Now showing 1 - 1 of 1
Thumbnail Image
Name:
ph-ar-paranee-2562.pdf
Size:
493.01 KB
Format:
Adobe Portable Document Format

License bundle

Now showing 1 - 1 of 1
No Thumbnail Available
Name:
license.txt
Size:
1.71 KB
Format:
Item-specific license agreed upon to submission
Description:

Collections