Publication: ปัจจัยทำนายความตั้งใจในการเลิกสูบบุหรี่ของลูกจ้างสถานบริการสาธารณสุข กรุงเทพมหานคร
dc.contributor.author | สุประวีณ์ ภู่พงษ์ | en_US |
dc.contributor.author | กีรดา ไกรนุวัตร | en_US |
dc.contributor.author | ปิยะธิดา นาคะเกษียร | en_US |
dc.contributor.author | Suprawee Phoophong | en_US |
dc.contributor.author | Kerada Krainuwat | en_US |
dc.contributor.author | Piyatida Nakagasien | en_US |
dc.contributor.other | มหาวิทยาลัยมหิดล. คณะพยาบาลศาสตร์ | en_US |
dc.contributor.other | มหาวิทยาลัยมหิดล. คณะพยาบาลศาสตร์. การพยาบาลสาธารณสุขศาสตร์ | en_US |
dc.date.accessioned | 2020-12-30T10:47:18Z | |
dc.date.available | 2020-12-30T10:47:18Z | |
dc.date.created | 2563-12-30 | |
dc.date.issued | 2563 | |
dc.description.abstract | วัตถุประสงค์: ศึกษาปัจจัยทำนายความตั้งใจในการเลิกสูบบุหรี่ของลูกจ้างศูนย์บริการสาธารณสุข และกองควบคุมโรคกรุงเทพมหานคร รูปแบบการวิจัย: การศึกษาความสัมพันธ์เชิงทำนาย วิธีดำเนินการวิจัย: กลุ่มตัวอย่าง คือ ลูกจ้างที่ปฏิบัติงานในศูนย์บริการสาธารณสุขและกองควบคุมโรค กรุงเทพมหานคร คัดเลือกกลุ่มตัวอย่างโดยสุ่มอย่างง่ายตามเกณฑ์คัดเข้าได้ 140 คน เก็บข้อมูลโดยใช้แบบสอบ ถามความตั้งใจในการเลิกสูบบุหรี่ใน 1 เดือนข้างหน้า แบบสอบถามปัจจัยทำนายความตั้งใจในการเลิกบุหรี่ ประกอบด้วย เจตคติต่อการเลิกสูบบุหรี่ การคล้อยตามกลุ่มอ้างอิง การรับรู้ความสามารถในการควบคุมพฤติกรรม ระดับการติดนิโคติน และพฤติกรรมการดื่มแอลกอฮอล์ วิเคราะห์ข้อมูลใช้สถิติพรรณนา และสถิติถดถอยโลจิสติค ผลการวิจัย: งานวิจัยแสดงให้เห็นว่าเจตคติต่อการเลิกสูบบุหรี่ การคล้อยตามกลุ่มอ้างอิง การรับรู้ความสามารถในการควบคุมพฤติกรรม ระดับการติดนิโคติน และพฤติกรรมดื่มแอลกอฮอล์ร่วมกันทำนายความตั้งใจในการเลิกสูบบุหรี่ได้ร้อยละ 45 (Nagelkerke R2 = .450) โดยเจตคติและการคล้อยตามกลุ่มอ้างอิงเป็นปัจจัยที่สามารถทำนายความตั้งใจในการเลิกสูบบุหรี่ได้อย่างมีนัยสำคัญทางสถิติ (OR = 1.021, p < .05 และ OR = 1.062, p < .001) สรุปและข้อเสนอแนะ: เจตคติและการคล้อยตามกลุ่มอ้างอิง เป็นปัจจัยที่สามารถทำนายความตั้งใจในการเลิกสูบบุหรี่ บุคลากรทีมสุขภาพโดยเฉพาะอย่างยิ่งพยาบาลเวชปฏิบัติควรใช้เจตคติและการคล้อยตามกลุ่มอ้างอิง ตามทฤษฎีพฤติกรรมตามแผนมาเป็นกรอบแนวคิดในการพัฒนาโปรแกรมช่วยเลิกบุหรี่ที่มีประสิทธิภาพ และควรสนับสนุนให้ผู้บังคับบัญชาและครอบครัวมีส่วนร่วมในการช่วยให้ผู้สูบบุหรี่มีความตั้งใจในการเลิกสูบบุหรี่เพิ่มขึ้น | en_US |
dc.description.abstract | Purpose: To determine predicting factors of intention to quit smoking among employees of public health centers and communicable disease control services, Bangkok Metropolitan Administration. Design: Correlational predictive design. Methods: Participants were employees of public health centers and communicable disease control services, Bangkok Metropolitan Administration. Simple random sampling was performed to select 140 participants who met the inclusion criteria. Questionnaires were used for data collection including a scale of asking intention to quit smoking within the next one month, and multi-dimensional scales for measuring predictors of intention to quit smoking including attitudes toward smoking cessation, subjective norm, perceived behavioural control on quitting smoking, nicotine addiction level, and alcohol drinking behavior. Data were analyzed using descriptive statistics and logistic regression analysis. Main findings: This research demonstrated that attitudes toward smoking cessation, subjective norm, perceived behavioural control on quitting smoking, nicotine addiction level, and alcohol drinking behaviour together could predict the intention to quit smoking by 45% (Nagelkerke R2 = .450). Attitudes towards smoking cessation and subjective norm could significantly predict the intention to quit smoking (OR = 1.021, p < .05, OR = 1.062, p < .001). Conclusion and recommendations: Attitudes towards smoking cessation and subjective norm were the two of significant predicting factors of the intention to quit smoking. Health care providers especially nurse practitioners should use attitudes toward smoking cessation and subjective norm based on theory of planned behavior as a framework for development of effective smoking cessation program. Moreover, employers and families should be involved to help smokers increase their intention to quit smoking. | en_US |
dc.identifier.citation | วารสารพยาบาลศาสตร์. ปีที่ 38, ฉบับที่ 3 (ก.ค.- ก.ย. 2563), 63-77 | en_US |
dc.identifier.uri | https://repository.li.mahidol.ac.th/handle/20.500.14594/60630 | |
dc.language.iso | tha | en_US |
dc.rights | มหาวิทยาลัยมหิดล | en_US |
dc.rights.holder | คณะพยาบาลศาสตร์ มหาวิทยาลัยมหิดล | en_US |
dc.subject | เจตคติ | en_US |
dc.subject | ลูกจ้าง | en_US |
dc.subject | ความตั้งใจ | en_US |
dc.subject | การเลิกสูบบุหรี่ | en_US |
dc.subject | การคล้อยตามกลุ่มอ้างอิง | en_US |
dc.subject | attitude | en_US |
dc.subject | employee | en_US |
dc.subject | intention | en_US |
dc.subject | quitting smoking | en_US |
dc.subject | social norm | en_US |
dc.subject | วารสารพยาบาลศาสตร์ | en_US |
dc.subject | Journal of Nursing Science | en_US |
dc.subject | Nursing Science Journal of Thailand | en_US |
dc.title | ปัจจัยทำนายความตั้งใจในการเลิกสูบบุหรี่ของลูกจ้างสถานบริการสาธารณสุข กรุงเทพมหานคร | en_US |
dc.title.alternative | Predicting Factors of Intention to Quit Smoking among Employees in Public Health Centers, Bangkok Metropolitan Administration | en_US |
dc.type | Research Article | en_US |
dspace.entity.type | Publication | |
mods.location.url | https://he02.tci-thaijo.org/index.php/ns/article/view/241750 |