Publication: QR CODE ในประเทศไทยและการประยุกต์ใช้ภายในโรงพยาบาลในยุคไทยแลนด์ 4.0
dc.contributor.author | อัจฉรา กิจเดช | en_US |
dc.contributor.author | กิตติศักดิ์ แก้วบุตรดี | en_US |
dc.contributor.author | Atchara Kitdesh | en_US |
dc.contributor.author | Kittisak Kaewbooddee | en_US |
dc.contributor.other | มหาวิทยาลัยมหิดล. คณะแพทยศาสตร์ศิริราชพยาบาล | en_US |
dc.date.accessioned | 2019-06-26T03:52:50Z | |
dc.date.available | 2019-06-26T03:52:50Z | |
dc.date.created | 2562-06-26 | |
dc.date.issued | 2561 | |
dc.description.abstract | ในปัจจุบันมีผู้ป่วยเข้ามารับบริการรักษาในโรงพยาบาลต่างๆ เป็นจำนวนมาก บางครั้งทำให้เกิดข้อผิดพลาด หรืออุปสรรคต่าง ๆ ในการให้บริการของหน่วยงานในโรงพยาบาล ซึ่งปัญหาหลักๆ มักเกิดขึ้นที่ขั้นตอนการรับชำระเงินค่ารักษาพยาบาล ข้อผิดพลาดที่เกิดขึ้นจากเจ้าหน้าที่ที่ปฏิบัติงานที่ให้บริการผู้ป่วยจำนวนมาก ๆ และข้อผิดพลาดที่เกิดขึ้นในการจ่ายยาสำหรับผู้ป่วยถือเป็นสิ่งที่สำคัญมาก ดังนั้นโรงพยาบาลจึงต้องมีการพัฒนา และนำเทคโนโลยีมาใช้ในกระบวนการต่าง ๆ เพื่อลดข้อผิดพลาดดังกล่าว ที่อาจจะส่งผลกระทบกับองค์กรและผู้ป่วย เทคโนโลยีคิวอาร์โค้ด (QR Code) ย่อมาจาก Quick Response Code คือ บาร์โค้ด 2 มิติ (2 Dimension Barcode) ชนิดหนึ่ง ที่ประกอบด้วยโมดูลสีดำเรียงตัวกัน มีสัณฐานสี่เหลี่ยม มีพื้นหลังสีขาว สามารถใช้สมาร์ทโฟนเพื่ออ่านข้อมูลต่าง ๆ ได้ โดยโรงพยาบาลต่าง ๆ สามารถประยุกต์ใช้เทคโนโลยีดังกล่าวในส่วนของหน่วยงานต่าง ๆ เช่น การรับชำระเงินค่ารักษาพยาบาล ทำให้ผู้ป่วยได้รับความสะดวกสบายใจการชำระเงินค่ารักษาพยาบาลมากขึ้น และการเก็บข้อมูลยา รวมไปถึงการจ่ายยาสำหรับผู้ป่วยของโรงพยาบาล โดยมีวัตถุประสงค์เพื่อลดความผิดพลาด และเพิ่มความคล่องตัวในการดำเนินงานในขั้นตอนต่าง ๆ ซึ่งทำให้โรงพยาบาลลดความซับซ้อนในการจัดการต่าง ๆ และผู้ป่วยได้รับประโยชน์สูงสุดในการรับบริการ | en_US |
dc.description.abstract | Currently, many patients get service in the hospital and sometimes mistakes during the service in the hospital. The main problem is usually happening at the payment and drug dispensing process. The staff that performs many patient services may cause an error. The hospital needs to develop and bring the technology into processes to reduces the mistakes. It may cause the effect on patients and hospital. QR Code technology or Quick Response Code is the 2-dimensions barcode. Consisting of an array of black and white squares, typically used for storing URLs or other information for reading by the camera on a smartphone. The hospital can be applied the QR Code technology in the various department such as finance and drug department. The objective is to reduce the error and streamline operational processes for the patient's benefit. | en_US |
dc.identifier.citation | วารสาร Mahidol R2R e-Journal. ปีที่ 5, ฉบับที่ 2 (ก.ค.-ธ.ค. 2561), 51-59 | en_US |
dc.identifier.doi | 10.14456/jmu.2018.16 | |
dc.identifier.uri | https://repository.li.mahidol.ac.th/handle/20.500.14594/44164 | |
dc.language.iso | tha | en_US |
dc.rights | มหาวิทยาลัยมหิดล | en_US |
dc.rights.holder | คณะแพทยศาสตร์ศิริราชพยาบาล มหาวิทยาลัยมหิดล | en_US |
dc.subject | คิวอาร์โค้ด | en_US |
dc.subject | เทคโนโลยีคิวอาร์โค้ด | en_US |
dc.subject | การชำระเงิน | en_US |
dc.subject | QR Code | en_US |
dc.subject | QR Code Technology | en_US |
dc.subject | PaymentI | en_US |
dc.title | QR CODE ในประเทศไทยและการประยุกต์ใช้ภายในโรงพยาบาลในยุคไทยแลนด์ 4.0 | en_US |
dc.title.alternative | QR CODE in Thailand and Application of QR Code Technology in the Hospitals in Thailand 4.0 | en_US |
dc.type | Article | en_US |
dspace.entity.type | Publication | |
mods.location.url | https://r2r.mahidol.ac.th/Publish/doi/5_2/2561_5_2_5.pdf | en_US |