Publication: Factors Predicting Mothers’ Self-efficacy in Providing Home Care for Children with Pneumonia in Yangon, Myanmar
Issued Date
2022
Resource Type
Language
eng
Rights
Mahidol University
Rights Holder(s)
Faculty of Nursing Mahidol University
Bibliographic Citation
Nursing Science Journal of Thailand. Vol. 40, No. 3 (Jul -Sep 2022), 120-134
Suggested Citation
Nu Naing, Myat Pann, Sudaporn Payakkaraung, Wanida Sanasuttipun, เมียด แพน นู เนียง, สุดาภรณ์ พยัคฆเรือง, วนิดา เสนะสุทธิพันธุ์ Factors Predicting Mothers’ Self-efficacy in Providing Home Care for Children with Pneumonia in Yangon, Myanmar. Nursing Science Journal of Thailand. Vol. 40, No. 3 (Jul -Sep 2022), 120-134. Retrieved from: https://repository.li.mahidol.ac.th/handle/20.500.14594/64830
Research Projects
Organizational Units
Authors
Journal Issue
Thesis
Title
Factors Predicting Mothers’ Self-efficacy in Providing Home Care for Children with Pneumonia in Yangon, Myanmar
Alternative Title(s)
ปัจจัยทำนายสมรรถนะของตนเองของมารดาในการให้การดูแลที่บ้านแก่เด็กโรคปอดอักเสบในเมืองย่างกุ้ง ประเทศพม่า
Other Contributor(s)
Abstract
Purpose: To examine the predictability of maternal age, maternal education, family income, maternal knowledge, and social support on mothers’ self-efficacy in providing home care for children with pneumonia.
Design: A predictive correlational study.
Methods: A convenience sampling was used to recruit 124 mothers of children under five years old with pneumonia from two Children Hospitals in Yangon, Myanmar. Data were collected using 1) Socio-Demographic Questionnaire, 2) Mothers’ Knowledge Questionnaire, 3) the Multidimensional Scale of Perceived Social Support Questionnaire, and 4) the Perceived Self-efficacy of Caregivers in Caring for Children with Pneumonia at Home Questionnaire. Descriptive statistics, Pearson product-moment correlation coefficient, and multiple linear regression were used for data analysis.
Main findings: The study results showed that all factors could account for 72.9% of the variance explained in the mothers’ self-efficacy for home care (R2 = .73). The three predictive factors of mothers’ self-efficacy were maternal education (gif.latex?\beta = .64, p < .001), maternal age (gif.latex?\beta = .25, p < .001), and maternal knowledge (gif.latex?\beta = .13, p = .034).
Conclusion and recommendations: The mothers’ self-efficacy in providing home care for children with pneumonia could be predicted by maternal age, maternal education, and maternal knowledge. Therefore, health care professionals should pay more attention to younger and low educated mothers, and provide knowledge about pneumonia and caring for children with pneumonia for promoting mothers’ self-efficacy in providing home care to enhance the quality of care for the children with pneumonia.
วัตถุประสงค์: เพื่อศึกษาอำนาจทำนายของอายุของมารดา การศึกษาของมารดา รายได้ของครอบครัว ความรู้ของมารดา และการสนับสนุนทางสังคม ต่อสมรรถนะของตนเองของมารดาในการให้การดูแลที่บ้านแก่เด็กโรคปอดอักเสบ รูปแบบการวิจัย: การศึกษาความสัมพันธ์เชิงทำนาย วิธีดำเนินการวิจัย: คัดเลือกตัวอย่างแบบสะดวก ได้กลุ่มตัวอย่างเป็นมารดาจำนวน 124 คนที่มีบุตรโรคปอดอักเสบ อายุน้อยกว่า 5 ปี และได้รับการรักษาที่โรงพยาบาลเด็ก 2 แห่งในเมืองย่างกุ้ง ประเทศพม่า เครื่องมือที่ใช้ในการเก็บข้อมูล ได้แก่ 1) แบบสอบถามข้อมูลทั่วไป 2) แบบสอบถามความรู้ของมารดา 3) แบบสอบถามการรับรู้การสนับสนุนทางสังคม และ 4) แบบวัดการรับรู้สมรรถนะของตนเองของผู้ดูแลในการให้การดูแลที่บ้านแก่เด็กโรคปอดอักเสบ วิเคราะห์ข้อมูลด้วยสถิติพรรณนา สัมประสิทธิ์สหสัมพันธ์แบบเพียร์สัน และวิเคราะห์ถดถอยเชิงเส้นพหุคูณ ผลการวิจัย: ผลการศึกษาพบว่า ปัจจัยทั้งหมดสามารถร่วมกันอธิบายความแปรปรวนของสมรรถนะของตนเองของมารดาในการให้การดูแลที่บ้านแก่เด็กโรคปอดอักเสบได้ร้อยละ 72.9 (R2 = .73) โดยพบว่า 3 ปัจจัยที่มีอิทธิพลทำนายสมรรถนะของตนเองของมารดา ได้แก่ ระดับการศึกษาของมารดา (gif.latex?\beta = .64, p < .001), อายุของมารดา (gif.latex?\beta = .25, p < .001), และความรู้ของมารดา (gif.latex?\beta = .13, p = .034) สรุปและข้อเสนอแนะ: สมรรถนะของตนเองของมารดาต่อในการให้การดูแลที่บ้านแก่เด็กโรคปอดอักเสบ สามารถทำนายด้วยอายุของมารดา ระดับการศึกษาของมารดา และความรู้ของมารดา ดังนั้นบุคลากรทางการแพทย์ควรให้ความสำคัญกับมารดาที่อายุน้อย มีระดับการศึกษาน้อย และให้ความรู้เกี่ยวกับโรคปอดอักเสบและการดูแลเด็กโรคปอดอักเสบเพื่อส่งเสริมสมรรถนะของตนเองแก่มารดาในการดูแลเด็กที่บ้าน เพื่อเพิ่มคุณภาพในการดูแลเด็กโรคปอดอักเสบต่อไป
วัตถุประสงค์: เพื่อศึกษาอำนาจทำนายของอายุของมารดา การศึกษาของมารดา รายได้ของครอบครัว ความรู้ของมารดา และการสนับสนุนทางสังคม ต่อสมรรถนะของตนเองของมารดาในการให้การดูแลที่บ้านแก่เด็กโรคปอดอักเสบ รูปแบบการวิจัย: การศึกษาความสัมพันธ์เชิงทำนาย วิธีดำเนินการวิจัย: คัดเลือกตัวอย่างแบบสะดวก ได้กลุ่มตัวอย่างเป็นมารดาจำนวน 124 คนที่มีบุตรโรคปอดอักเสบ อายุน้อยกว่า 5 ปี และได้รับการรักษาที่โรงพยาบาลเด็ก 2 แห่งในเมืองย่างกุ้ง ประเทศพม่า เครื่องมือที่ใช้ในการเก็บข้อมูล ได้แก่ 1) แบบสอบถามข้อมูลทั่วไป 2) แบบสอบถามความรู้ของมารดา 3) แบบสอบถามการรับรู้การสนับสนุนทางสังคม และ 4) แบบวัดการรับรู้สมรรถนะของตนเองของผู้ดูแลในการให้การดูแลที่บ้านแก่เด็กโรคปอดอักเสบ วิเคราะห์ข้อมูลด้วยสถิติพรรณนา สัมประสิทธิ์สหสัมพันธ์แบบเพียร์สัน และวิเคราะห์ถดถอยเชิงเส้นพหุคูณ ผลการวิจัย: ผลการศึกษาพบว่า ปัจจัยทั้งหมดสามารถร่วมกันอธิบายความแปรปรวนของสมรรถนะของตนเองของมารดาในการให้การดูแลที่บ้านแก่เด็กโรคปอดอักเสบได้ร้อยละ 72.9 (R2 = .73) โดยพบว่า 3 ปัจจัยที่มีอิทธิพลทำนายสมรรถนะของตนเองของมารดา ได้แก่ ระดับการศึกษาของมารดา (gif.latex?\beta = .64, p < .001), อายุของมารดา (gif.latex?\beta = .25, p < .001), และความรู้ของมารดา (gif.latex?\beta = .13, p = .034) สรุปและข้อเสนอแนะ: สมรรถนะของตนเองของมารดาต่อในการให้การดูแลที่บ้านแก่เด็กโรคปอดอักเสบ สามารถทำนายด้วยอายุของมารดา ระดับการศึกษาของมารดา และความรู้ของมารดา ดังนั้นบุคลากรทางการแพทย์ควรให้ความสำคัญกับมารดาที่อายุน้อย มีระดับการศึกษาน้อย และให้ความรู้เกี่ยวกับโรคปอดอักเสบและการดูแลเด็กโรคปอดอักเสบเพื่อส่งเสริมสมรรถนะของตนเองแก่มารดาในการดูแลเด็กที่บ้าน เพื่อเพิ่มคุณภาพในการดูแลเด็กโรคปอดอักเสบต่อไป
Sponsorship
ได้รับทุนสนับสนุนจากทุนมหิดล-นอร์เวย์เพื่อโครงการเสริมสร้างศักยภาพในเมียนมาร์ (ระยะที่ 2