Publication:
พฤติกรรมการดื่มเครื่องดื่มแอลกอฮอล์ของคนไทยเขตเมือง: กรณีศึกษาชุมชนบ้านบุ เขตบางกอกน้อย กรุงเทพมหานคร

dc.contributor.authorปรางค์ทิพย์ อุจะรัตนen_US
dc.contributor.authorPrangtip Ucharattanaen_US
dc.contributor.authorสุคนธ์ ไข่แก้วen_US
dc.contributor.authorSukhon Khaikeowen_US
dc.contributor.authorวัฒนา พันธุ์ศักดen_US
dc.contributor.authorWattana Punsakden_US
dc.contributor.authorสุธีรา ฮุ่นตระกูลen_US
dc.contributor.authorSutheera Hoontrakulen_US
dc.contributor.otherมหาวิทยาลัยมหิดล. คณะพยาบาลศาสตร์. ภาควิชาการพยาบาลรากฐานen_US
dc.contributor.otherมหาวิทยาลัยมหิดล. คณะพยาบาลศาสตร์. ภาควิชาสูติศาสตร์-นรีเวชวิทยา
dc.contributor.otherมหาวิทยาลัยมหิดล. คณะพยาบาลศาสตร์. ภาควิชาการพยาบาล สาธารณสุขศาสตร์
dc.date.accessioned2018-01-11T16:37:15Z
dc.date.available2018-01-11T16:37:15Z
dc.date.created2018-01-11
dc.date.issued2011
dc.description.abstractวัตถุประสงค์: เพื่อศึกษาพฤติกรรมการดื่มเครื่องดื่มแอลกอฮอล์ของคนไทย เขตเมือง รูปแบบการวิจัย: การวิจัยเชิงสำรวจ วิธีดำเนินการวิจัย: กลุ่มตัวอย่างคือ ชาวชุมชนบ้านบุ 966 คน เครื่องมือเป็นแบบสัมภาษณ์และแบบคัดกรองระดับการดื่มแอลกอฮอล์ Alcohol Use Disorder Identification Test (AUDIT) วิเคราะห์ข้อมูลด้วยสถิติเชิงพรรณนาและไคร์สแคว์ ผลการวิจัย: ชาวชุมชน 966 คนมีผู้ดื่มเครื่องดื่มแอลกอฮอล์ 404 คน (ร้อยละ 41.8) เพศชายมากกว่าเพศหญิง(ร้อยละ 67.6, 32.4) อายุเฉลี่ย 37.67±14.81 ปี อายุเริ่มดื่มครั้งแรก 20.9 ± 7.73 ปี ต่ำสุด 7 ปี จบประถมศึกษาร้อยละ 37.3 อาชีพรับจ้างร้อยละ 45.9 รายได้เฉลี่ยต่อเดือน 5,957.12± 6,065.24 บาท “เพื่อน” มีอิทธิพลสูงต่อการดื่มครั้งแรกร้อยละ 33.3 ความถี่ของการดื่มแบ่งเป็น 3 กลุ่มคือ ดื่มประจำ(ทุกวันหรือ 4-5 วันต่อสัปดาห์) ร้อยละ 36.4 ดื่มปานกลาง (เฉลี่ยสัปดาห์ละ 1 ครั้ง) ร้อยละ 32.7 ดื่มเป็นครั้งคราว (เฉลี่ย 1-2 ครั้งต่อเดือน) ร้อยละ 30.9 การประเมิน ระดับการดื่มแอลกอฮอล์พบมีผู้ดื่มระดับเสี่ยงน้อยร้อยละ 61.9 ผู้ดื่มแบบอันตรายร้อยละ 38.1 เพศชายมีการดื่มแบบอันตรายมากกว่าเพศหญิง (ร้อยละ 31.7, 6.4) ชนิดของเครื่องดื่มที่นิยมคือสุราสี (ร้อยละ 61.6) ปริมาณสุราดื่มเฉลี่ยต่อคนต่อวัน 538 ซีซี (3/4 ขวดใหญ่) เบียร์ 1,536 ซีซี. (2 ขวดใหญ่) เพศมีความสัมพันธ์กับความถี่ของการดื่มชนิดของเครื่องดื่มและปริมาณ การดื่ม (p < .05) ระดับการศึกษามีความสัมพันธ์กับชนิดของเครื่องดื่ม (p < .05) ทัศนคติต่อการดื่มพบว่าถูกต้องปานกลาง ( Χ 2.08±0.23) สรุปและข้อเสนอแนะ: ชาวชุมชนมีพฤติกรรมการดื่มสุราในระดับที่ก่อให้เกิดอันตรายต่อสุขภาพ อายุเริ่มดื่มค่อนข้างน้อยเพื่อนมีอิทธิพลสูงต่อการเริ่มดื่มโรงเรียนควรปลูกฝังทัศนคติให้นักเรียนตระหนักว่าการดื่มไม่ก่อให้เกิดประโยชน์ต่อสุขภาพและเป็นสิ่งที่ควรหลีกเลี่ยงครอบครัวต้องเป็นตัวอย่างที่ดีสำหรับบุตรหลานและสภาพแวดล้อมในชุมชนควรปลอดจากการดื่มen_US
dc.description.abstractAbstract: Purpose: To explore the alcohol consumption behavior of Thai in urban area. Design: Survey research. Methods: A total of 966 residents living in the Banbu community, Bangkok were recruited. A structured questionnaire and the Alcohol Use Disorder Identification Test (AUDIT) were used. Data was analyzed using descriptive statistics, and Chi-square test (c 2 ). Main findings: There were 404 persons (41.8%) who were alcohol drinkers. The majority of alcohol drinkers were male (67.6%) and mean aged 37.67±14.81 years. The mean aged of first experience drinkers was 20.9±7.73 years. The age of the youngest drinker was 7 years old. Among 37.3% of the drinkers, the highest education level achieved was at the elementary school level. The majority of drinkers were in the labor force (45.9%) with a mean income of 5,957.12± 6,065.24 baht. The significant factor effecting first alcohol consumption was friends (33.3%).The frequency of drinking reported was: regular drinker = 36.4%, moderate drinker = 32.7%, and occasional drinker = 30.9%. The level of drinking by AUDIT screening test found a low risk of alcohol-related problem drinkers 61.9%, hazardous and harmful drinkers 38.1%. Men were found to be more hazardous and harmful drinkers than women (31.7%, 6.4%). The most popular type of alcohol was colored spirits (61.6%). The average drinking amount was 538 cc. per day for liquor and 1,536 cc. per day for beer. Gender was significantly associated with drinking frequency, types, and the amount of alcoholic beverages per day (p< .05). Education was significantly associated with types of alcoholic beverages (p< .05). An attitude of alcoholic drinkers was moderately correct. ( X 2.08±0.23) Conclusion and recommendations: Urban Thai have alcohol consumption behavior that may seriously affect health. The starting age for drinking in urban Thai can be considered young. Friends were influential factors to young drinkers to start drinking. Schools should engage in an important educational role warning of the health risks of excessive alcohol consumption. Family must be a role model. Community and society should provide alcohol consumption free surroundings.en_US
dc.description.sponsorshipงานวิจัยนี้เป็นส่วนหนึ่งของโครงการวิจัยที่ได้รับทุนจากกองทุนสนับสนุนการสร้างเสริมสุขภาพ (สสส.)
dc.identifier.citationวารสารพยาบาลศาสตร์. ปีที่ 29, ฉบับที่ 1 (ม.ค. - มี.ค 2554), 53-62en_US
dc.identifier.urihttps://repository.li.mahidol.ac.th/handle/20.500.14594/3326
dc.language.isothaen_US
dc.rightsมหาวิทยาลัยมหิดลen_US
dc.rights.holderคณะพยาบาลศาสตร์ มหาวิทยาลัยมหิดลen_US
dc.subjectพฤติกรรรมการดื่มเครื่องดื่มแอลกอฮอลล์en_US
dc.subjectคนไทยเขตเมืองen_US
dc.subjectวารสารพยาบาลศาสตร์en_US
dc.subjectOpen Access articleen_US
dc.subjectJournal of Nursing Scienceen_US
dc.titleพฤติกรรมการดื่มเครื่องดื่มแอลกอฮอล์ของคนไทยเขตเมือง: กรณีศึกษาชุมชนบ้านบุ เขตบางกอกน้อย กรุงเทพมหานครen_US
dc.title.alternativeHealth Promotion Behaviors among Thai Elders in the Urban Area: The Banbu Community, Bangkok-Noi District, Bangkoken_US
dc.typeArticleen_US
dspace.entity.typePublication
mods.location.urlhttps://www.tci-thaijo.org/index.php/ns/article/view/2799

Files

Original bundle

Now showing 1 - 1 of 1
Thumbnail Image
Name:
ns-ar-prangtip-2554.pdf
Size:
4.72 MB
Format:
Adobe Portable Document Format

License bundle

Now showing 1 - 1 of 1
No Thumbnail Available
Name:
license.txt
Size:
1.71 KB
Format:
Item-specific license agreed upon to submission
Description:

Collections