Publication:
ปัจจัยที่สัมพันธ์กับความสม่ำเสมอในการรับประทานยาของผู้ป่วยโรค เอส แอล อี

dc.contributor.authorกัญญา จันทร์ใจen_US
dc.contributor.authorธิราภรณ์ จันทร์ดาen_US
dc.contributor.authorอรสา พันธ์ภักดีen_US
dc.contributor.authorKunya JunJaien_US
dc.contributor.authorTiraporn Jundaen_US
dc.contributor.authorOrasa Panpakdeeen_US
dc.contributor.otherมหาวิทยาลัยมหิดล. คณะแพทยศาสตร์โรงพยาบาลรามาธิบดี. โรงเรียนพยาบาลรามาธิบดีen_US
dc.date.accessioned2019-12-12T06:27:57Z
dc.date.available2019-12-12T06:27:57Z
dc.date.created2562-12-12
dc.date.issued2556
dc.description.abstractการวิจัยนี้เป็นการวิจัยเชิงบรรยาย มีวัตถุประสงค์เพื่อศึกษาปัจจัยที่มีความสัมพันธ์กับ ความสม่ำเสมอในการรับประทานยาของผู้ป่วยโรคเอส แอล อี ปัจจัยที่นำมาศึกษาคือ ปัจจัยด้านยา ได้แก่ จำนวนชนิดยาที่รับประทานต่อวัน จำนวนเม็ดยาที่รับประทานต่อวัน ความถี่ในการรับประทาน ยาต่อวัน การรับรู้การเกิดอาการข้างเคียงจากยา ปัจจัยด้านความรู้เรื่องโรคเอส แอล อี และการใช้ยา และ ความเชื่อด้านสุขภาพของผู้ป่วย ได้แก่ การรับรู้ความรุนแรงของโรคเอส แอล อี การรับรู้ประโยชน์ของ การรับประทานยาอย่างสม่ำเสมอ และการรับรู้อุปสรรคต่อการรับประทานยาอย่างสม่ำเสมอ กลุ่มตัวอย่างเป็นผู้ป่วยโรคเอส แอล อี จำนวน 160 ราย ที่มาตรวจที่แผนกตรวจผู้ป่วยนอกโรงพยาบาล รามาธิบดี ตั้งแต่เดือนกันยายน พ.ศ. 2553 ถึงเดือนพฤศจิกายน พ.ศ. 2553 โดยการเลือกแบบ เจาะจง เครื่องมือที่ใช้ในการวิจัยคือ แบบสอบถามข้อมูลส่วนบุคคล แบบสอบถามปัจจัยด้านยาและ ความสม่ำเสมอในการรับประทานยา แบบสอบถามความรู้เรื่องโรคเอส แอล อี และการใช้ยา และ แบบสอบถามความเชื่อด้านสุขภาพ วิเคราะห์ข้อมูลโดยสถิติบรรยาย และสัมประสิทธิ์สหสัมพันธ์แบบ อันดับสเปียร์แมน ผลการวิจัยพบว่า ความสม่ำเสมอในการรับประทานยา ความรู้เรื่องโรคเอส แอล อี และการใช้ยา การรับร้คู วามรุนแรงเกี่ยวกับโรคเอส แอล อี และการรับร้ปู ระโยชน์ของการรับประทาน ยาอย่างสม่ำเสมออยู่ในระดับมาก ส่วนการรับรู้อุปสรรคของการรับประทานยาอย่างสม่ำเสมออยู่ใน ระดับปานกลาง เมื่อวิเคราะห์หาความสัมพันธ์พบว่า ความรู้เรื่องโรคเอส แอล อีและการใช้ยา และการ รับรู้ความรุนแรงของโรคเอส แอล อี มีความสัมพันธ์ทางบวกกับความสม่ำเสมอในการรับประทานยา อย่างมีนัยสำคัญทางสถิติ ส่วนการรับรู้อุปสรรคในการรับประทานยาอย่างสม่ำเสมอ มีความสัมพันธ์ ทางลบกับความสม่ำเสมอในการรับประทานยาอย่างมีนัยสำคัญทางสถิติ ผลการวิจัยครั้งนี้ชี้ใหเ้ ห็นว่า ควรมีการส่งเสริมกิจกรรมการให้ความรู้เกี่ยวกับโรคเอส แอล อีและการใช้ยา และความรุนแรงของ โรค และลดอุปสรรคในการรับประทานยา เพื่อให้ผู้ป่วยรับประทานยาสม่ำเสมอและส่งผลดีต่อการ ควบคุมโรคen_US
dc.description.abstractThe objectives of this descriptive research were to examine factors related to medication adherence among patients with systemic lupus erythematosus (SLE). These were medication factors which included the number of drugs, the amount of tablets, frequency of medication taken, and patients’ perceptions on medication’s side effects of treatment of SLE. Other factors were patients’ knowledge about SLE and medication usage, and health belief variables, which were perception on severity of SLE, perception of the benefits, and perception of barriers for medication adherence. The sample group consisted of 160 SLE patients who had their routine follow-up at the outpatient department of Ramathibodi Hospital, Bangkok, from September to November, 2010. Purposive sampling was used. Four questionnaires were used as research tools, including personal information, medication usage factors and frequency of medication taken, knowledge of SLE and medication usage, and health belief models questionnaires. Data were analyzed using descriptive statistics and Spearman’s rank correlation. Research results showed that patients’ medication adherence, patients’ knowledge about SLE and medication usage, perceived severity of SLE, and perceived benefits were in the high level, whereas perceived barriers to medication adherence was in the moderate level. Patients’ knowledge about SLE and medication usage and perceived severity of SLE were significantly related to patients’ medication adherence. Perceived barriers to medication adherence were negatively and related to patients’ medication adherence. The results of this study indicated that the knowledge about SLE and medication usage, and severity of disease should be promoted. Reduce barriers to medication adherence will help the patient adherence to medication and disease control.en_US
dc.identifier.citationรามาธิบดีพยาบาลสาร. ปีที่ 19, ฉบับที่ 1 (ม.ค.-เม.ย. 2556), 60-72en_US
dc.identifier.issn0858-9739 (Print)
dc.identifier.issn2672-9784 (Online)
dc.identifier.urihttps://repository.li.mahidol.ac.th/handle/20.500.14594/48371
dc.language.isothaen_US
dc.rightsมหาวิทยาลัยมหิดลen_US
dc.rights.holderโรงเรียนพยาบาลรามาธิบดี คณะแพทยศาสตร์โรงพยาบาลรามาธิบดี มหาวิทยาลัยมหิดลen_US
dc.subjectโรคเอส แอล อีen_US
dc.subjectความรู้เรื่องโรคและการใช้ยาen_US
dc.subjectการรับรู้ความรุนแรงen_US
dc.subjectการรับรู้อุปสรรคen_US
dc.subjectความสม่ำเสมอในการรับประทานยาen_US
dc.subjectSystemic lupus erythematosusen_US
dc.subjectKnowledge about SLE and medication usageen_US
dc.subjectPerceived severity of SLEen_US
dc.subjectPerceived barriersen_US
dc.subjectMedication adherenceen_US
dc.titleปัจจัยที่สัมพันธ์กับความสม่ำเสมอในการรับประทานยาของผู้ป่วยโรค เอส แอล อีen_US
dc.title.alternativeFactors Related to Medication Adherence among Patients with Systemic Lupus Erythematosusen_US
dc.typeResearch Articleen_US
dspace.entity.typePublication
mods.location.urlhttps://www.tci-thaijo.org/index.php/RNJ/article/view/9111/7833

Files

Original bundle

Now showing 1 - 1 of 1
Thumbnail Image
Name:
ra-ar-tiraporn-2556.pdf
Size:
477.46 KB
Format:
Adobe Portable Document Format

License bundle

Now showing 1 - 1 of 1
No Thumbnail Available
Name:
license.txt
Size:
1.71 KB
Format:
Item-specific license agreed upon to submission
Description:

Collections