Publication: เปรียบเทียบมาตรการทางสุขภาพขององค์กรภาคเอกชนของประเทศไทยกับประเทศญี่ปุ่น
Issued Date
2549
Resource Type
Language
tha
ISSN
1905-1387
Rights
มหาวิทยาลัยมหิดล.
Rights Holder(s)
สถาบันพัฒนาการสาธารณสุขอาเซียน. มหาวิทยาลัยมหิดล
Bibliographic Citation
วารสารสาธารณสุขและการพัฒนา. ปีที่ 4, ฉบับที่ 3 (2549),1- 18
Suggested Citation
ศิริกุล อิศรานุรักษ์, บังอร เทพเทียน, สิริลักษณ์ ไหลสกุล, Yoshihisa Watanabe, Takaaki Kinoue เปรียบเทียบมาตรการทางสุขภาพขององค์กรภาคเอกชนของประเทศไทยกับประเทศญี่ปุ่น. วารสารสาธารณสุขและการพัฒนา. ปีที่ 4, ฉบับที่ 3 (2549),1- 18. สืบค้นจาก: https://repository.li.mahidol.ac.th/handle/20.500.14594/2343
Research Projects
Organizational Units
Authors
Journal Issue
Thesis
Title
เปรียบเทียบมาตรการทางสุขภาพขององค์กรภาคเอกชนของประเทศไทยกับประเทศญี่ปุ่น
Alternative Title(s)
Comparative Study in Health Measures of Non Governmental Organizations (NGOs) in Thailand and Japan.
Other Contributor(s)
Abstract
การศึกษาในครั้งนี้เป็นการเปรียบเทียบมาตรการด้านสุขภาพขององค์กรภาคเอกชนของ
ประเทศไทยกับประเทศญี่ปุ่น ในกรณีที่มีการส่งเจ้าหน้าที่ไปปฏิบัติหน้าที่ในต่างประเทศและ
การรับชาวต่างประเทศเข้ามาทำงานในประเทศ รวมทั้งข้อมูลข่าวสารการระบาดของโรค และกิจกรรม
หลักขององค์กรภาคเอกชนของประเทศไทย และประเทศญี่ปุ่น
การศึกษาครั้งนี้เป็นการสำรวจข้อมูลโดยใช้แบบสอบถามที่จัดส่งให้กับองค์กรภาคเอกชนทาง
ไปรษณีย์ วิธีการค้นหาข้อมูลขององค์กรภาคเอกชนส่วนใหญ่จะค้นหาจาก Internet และจากเอกสาร
ทำเนียบองค์กรภาคเอกชนจากแหล่งต่างๆ จากการค้นหาได้จำนวนทั้งสิ้น 620 องค์กร และมี
องค์กรที่ตอบแบบสอบถามกลับมา จำนวน 165 องค์กร หรือคิดเป็นร้อยละ 27 ส่วนของประเทศ
ญ่ปี ่นุ ได้รับแบบสอบถามตอบกลับมาร้อยละ 17 จำนวน 863 องค์กร
ผลการศึกษาที่สำคัญๆพบว่า มาตรการด้านสุขภาพขององค์กรภาคเอกชน ประเทศไทยกับ
ประเทศญี่ปุ่นมีความแตกต่างกัน ในกรณีที่มีการส่งเจ้าหน้าที่ไปปฏิบัติงานนอกประเทศ
ในขณะที่มาตรการด้านสุขภาพในกรณีที่รับคนต่างชาติเข้ามาทำงานในประเทศของทั้ง 2 ประเทศ
ไม่แตกต่างกันมากนัก ส่วนข้อมูลข่าวสารการระบาดของโรคอย่างในกรณีของไข้หวัดนก และโรคซาร์
องค์กรภาคเอกชนทั้ง 2 ประเทศ จะได้รับข้อมูลจากหน่วยราชการเป็นส่วนใหญ่ และข้อมูล
ข่าวสารที่ได้รับจากราชการนั้น เป็นข้อมูลข่าวสารที่เป็นประโยชน์มากด้วย แต่อย่างไรก็ตามองค์กร
ภาคเอกชนของประเทศทั้งสอง เห็นว่าข้อมูลข่าวสารที่จำเป็นควรจัดไว้บนระบบเครือข่าย Internet
เพื่อให้ได้ข้อมูลข่าวสารอย่างฉับไว และเป็นช่องทางให้มีการสื่อสารกันเองระหว่างองค์กร
ภาคเอกชนด้วยการสื่อสารสองทาง
This study was a comparative study in health measures of Non Governmental Organizations (NGOs) in Thailand and Japan. In case the local staff were sent to work abroad and foreign staff who come to work in Thailand as well. The study included epidemiological data and the main activities of those NGOs. Structured questionnaires were distributed by mail to those NGOs related to the study whose contact information was available in the internet and NGOs directories. The target population was 620 NGOs of which 165 NGOs returned questionnaires back to the researcher with the percentage equal to 27% while only 863 NGOs submitted the information back to Japan, equal to 17% The comparative study of health measures showed that local staff sent to work abroad revealed a difference between Thailand and Japan in health measures, while the foreign staff who came to work in both Thailand and Japan were not so different. The Epidemiological data, especially on avian flu and SARS, both NGOs in Thailand and Japan received valuable data from government sector. However, both NGOs in Thailand and Japan suggested the essential information should be provided to the public via internet to swiftly update the situation and promote NGO interaction.
This study was a comparative study in health measures of Non Governmental Organizations (NGOs) in Thailand and Japan. In case the local staff were sent to work abroad and foreign staff who come to work in Thailand as well. The study included epidemiological data and the main activities of those NGOs. Structured questionnaires were distributed by mail to those NGOs related to the study whose contact information was available in the internet and NGOs directories. The target population was 620 NGOs of which 165 NGOs returned questionnaires back to the researcher with the percentage equal to 27% while only 863 NGOs submitted the information back to Japan, equal to 17% The comparative study of health measures showed that local staff sent to work abroad revealed a difference between Thailand and Japan in health measures, while the foreign staff who came to work in both Thailand and Japan were not so different. The Epidemiological data, especially on avian flu and SARS, both NGOs in Thailand and Japan received valuable data from government sector. However, both NGOs in Thailand and Japan suggested the essential information should be provided to the public via internet to swiftly update the situation and promote NGO interaction.