Publication: ปัจจัยที่มีผลต่อความสำเร็จในการนำนโยบายเพิ่มจำนวนร้านยาคุณภาพในส่วนภูมิภาค ปี 2552 ไปปฏิบัติของหัวหน้ากลุ่มงานคุ้มครองผู้บริโภค
dc.contributor.author | รำไพพรรณ ศรีทิพงศ์ | en_US |
dc.contributor.author | ภูษิตา อินทรประสงค์ | en_US |
dc.contributor.author | จรรยา ภัทรอาชาชัย | en_US |
dc.contributor.other | มหาวิทยาลัยมหิดล. คณะสาธารณสุขศาสตร์. | en_US |
dc.contributor.other | มหาวิทยาลัยมหิดล. สถาบันพัฒนาการสาธารณสุขอาเซียน. | en_US |
dc.contributor.other | มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์. คณะแพทย์ศาสตร์. | en_US |
dc.date.accessioned | 2017-06-28T08:50:17Z | |
dc.date.available | 2017-06-28T08:50:17Z | |
dc.date.created | 2017-06-27 | |
dc.date.issued | 2554 | |
dc.description.abstract | การศึกษานี้เป็นการวิจัยเชิงอรรถาธิบายแบบภาคตัดขวาง เพื่อวิเคราะห์ ความสำเร็จและปัจจัยที่มีผลต่อความสำเร็จของการนำนโยบายเพิ่มจำนวน ร้านยาคุณภาพในส่วนภูมิภาค ปี 2552 ไปปฏิบัติของหัวหน้ากลุ่มงาน คุ้มครองผู้บริโภค สำนักงานสาธารณสุขจังหวัดในประเทศไทย ศึกษาโดยใช้ แบบสอบถามรวบรวมขอ้ มูลจากหัวหนา้ กลุม่ งานคุม้ ครองผูบ้ ริโภค สาํ นักงาน สาธารณสุขจังหวัด จำนวน 40 คน และสัมภาษณ์เพิ่มเติม จำนวน 4 คน วิเคราะห์ข้อมูลด้วยสถิติเชิงพรรณนา ผลการวิจัยพบว่า ลักษณะหน่วยงานที่นำนโยบายไปปฏิบัติสำคัญอยู่ใน ระดับมากที่สุด รองลงมาได้แก่ ความชัดเจนของนโยบาย ความเต็มใจของ ผู้นำนโยบายไปปฏิบัติ และการสื่อสารระหว่างองค์การและกิจกรรมผลักดัน ไปปฏิบัติ และด้านทรัพยากร ตามลำดับ ข้อเสนอแนะ คณะกรรมการอาหารและยาและสภาเภสัชกรรมน่าจะ ทบทวนลักษณะของนโยบาย รายละเอียด รูปแบบ หรือระดับของมาตรฐาน ร้านยา ตลอดจนศึกษาแรงจูงใจ และกระบวนการจูงใจของผู้ประกอบการ ร้านยา | en_US |
dc.description.abstract | This cross-sectional explanatory research analyzed the success of and the factors affecting the implementation of the accredited pharmacy policy at the regional level in 2009 by the chiefs of Consumer Protection Groups in provincial Public Health Offices in Thailand. Data were collected from 40 leaders of Consumer Protection Groups using a questionnaire and from in-depth interviews with four of these leaders. Descriptive statistics were used to explain the characteristics of the study variables. The results show that the characteristic for the implementing agency was ranked highest. Next was the clarity of the accredited pharmacy policy, followed by the disposition of implementers, interorganizational communication, enforcement activities and resources, respectively. Recommendations following from this research are as follows: the FDA and the Pharmacy Council should revise the details of the accredited pharmacy policy and the format or level of pharmacy standards. They should investigate the motivation of and the process for motivating entrepreneurship among pharmacists. | en_US |
dc.identifier.citation | วารสารสาธารณสุขและการพัฒนา. ปีที่ 9 ฉบับที่ 3 (2554), 272-286 | en_US |
dc.identifier.issn | 1905-1387 | |
dc.identifier.uri | https://repository.li.mahidol.ac.th/handle/20.500.14594/2402 | |
dc.language.iso | tha | en_US |
dc.rights | มหาวิทยาลัยมหิดล. | en_US |
dc.rights.holder | สถาบันพัฒนาการสาธารณสุขอาเซียน. มหาวิทยาลัยมหิดล. | en_US |
dc.subject | การนำนโยบายไปปฏิบัติ | en_US |
dc.subject | Policy implementation | en_US |
dc.subject | ร้านยาคุณภาพ | en_US |
dc.subject | Accredited pharmacy | en_US |
dc.subject | กลุ่มงานคุ้มครองผู้บริโภค | en_US |
dc.subject | Consumer protection group | en_US |
dc.subject | Open Access article | en_US |
dc.subject | วารสารสาธารณสุขและการพัฒนา | en_US |
dc.subject | Journal of Public Health and Development | en_US |
dc.title | ปัจจัยที่มีผลต่อความสำเร็จในการนำนโยบายเพิ่มจำนวนร้านยาคุณภาพในส่วนภูมิภาค ปี 2552 ไปปฏิบัติของหัวหน้ากลุ่มงานคุ้มครองผู้บริโภค | en_US |
dc.title.alternative | Factors affecting the success of consumer protection group leaders in increasing the number of accredited pharmacies in regional areas in 2009 | en_US |
dc.type | Research Article | en_US |
dspace.entity.type | Publication |