Publication: เปรียบเทียบจำนวนวันนอนของผู้ป่วยที่ได้รับการเปลี่ยนข้อเข่าเทียมก่อนและ หลังการส่งรายงานการทบทวนการใช้ทรัพยากรสุขภาพแก่ทีมนำทางคลินิก
Issued Date
2559
Resource Type
Language
tha
Rights
มหาวิทยาลัยมหิดล
Rights Holder(s)
วารสารการพัฒนางานประจำสู่งานวิจัย คณะสิ่งแวดล้อมและทรัพยากรศาสตร์ มหาวิทยาลัยมหิดล
Bibliographic Citation
วารสารการพัฒนางานประจำสู่งานวิจัย. ปีที่ 3, (ส.ค. 2559), 34-40
Suggested Citation
วรณัน ประสารอธิคม, ธันย์ สุภัทรพันธ์ เปรียบเทียบจำนวนวันนอนของผู้ป่วยที่ได้รับการเปลี่ยนข้อเข่าเทียมก่อนและ หลังการส่งรายงานการทบทวนการใช้ทรัพยากรสุขภาพแก่ทีมนำทางคลินิก. วารสารการพัฒนางานประจำสู่งานวิจัย. ปีที่ 3, (ส.ค. 2559), 34-40. สืบค้นจาก: https://repository.li.mahidol.ac.th/handle/20.500.14594/2827
Research Projects
Organizational Units
Authors
Journal Issue
Thesis
Title
เปรียบเทียบจำนวนวันนอนของผู้ป่วยที่ได้รับการเปลี่ยนข้อเข่าเทียมก่อนและ หลังการส่งรายงานการทบทวนการใช้ทรัพยากรสุขภาพแก่ทีมนำทางคลินิก
Alternative Title(s)
Comparison the Length of Stay of Patients Undergoing Total Knee Replacement before and After Submitting Report of Utilization Review to the Clinical Lead Team
Author(s)
Other Contributor(s)
Abstract
งานวิจัยฉบับนี้เป็นการศึกษาย้อนหลังโดยมีวัตถุประสงค์เพื่อ เปรียบเทียบค่าเฉลี่ย และการผันแปรของ
จำนวนวันนอนก่อนและหลังการส่งรายงานการทบทวนการใช้ทรัพยากรสุขภาพแก่ทีมนำทางคลินิก ภาควิชาออร์โธปิ
ดิกส์ คณะแพทยศาสตร์โรงพยาบาลรามาธิบดี กลุ่มตัวอย่างเป็นข้อมูลผู้ป่วยข้อเข่าเสื่อมและได้รับการผ่าตัดเปลี่ยน
ข้อเข่าเทียม ที่มีการบันทึกในฐานข้อมูลโรงพยาบาล เลือกแบบเจาะจงโดยมีเกณฑ์คัดเลือกเข้ากลุ่มตัวอย่าง คือ เป็น
กล่มุ วินิจฉัยโรคร่วมการผ่าตัดเปลี่ยนข้อเข่าเทียมและมีข้อมูลครบถ้วน ได้กลุ่มตัวอย่างทั้งหมด 2,678 ราย แบ่งเป็น
2 กลุ่ม กลุ่มก่อนและกลุ่มภายหลังส่งรายงานการทบทวนการใช้ทรัพยากรสุขภาพแก่ทีมนำทางคลินิก ปีงบประมาณ
2548 – 2551 และปีงบประมาณ 2553 – 2556 จานวน 1,130 ราย และ 1,548 รายตามลำดับ ผลการวิเคราะห์
พบว่า ผู้ป่วยทั้งสองกลุ่ม ประมาณร้อยละ 80 เป็นผู้หญิงและสูงอายุ กลุ่มภายหลังส่งรายงานการทบทวนการใช้
ทรัพยากรสุขภาพแก่ทีมนำทางคลินิก ผู้ป่วยที่มีจำนวนวันนอน ≤ 6 วันเพิ่มจากร้อยละ 51.4 เป็น 81.5 ค่าเฉลี่ย
จำนวนวันนอนโดยรวม ของกลุ่มวินิจฉัยโรคร่วม 08030 และค่ารักษามีความแตกต่างกันอย่างมีนัยสำคัญทางสถิติที่
ระดับp <.01 และ .001 คือ ภายหลังการส่งรายงานการทบทวนการใช้ทรัพยากรสุขภาพแก่ทีมนำทางคลินิก ค่าเฉลี่ย
จำนวนวันนอนโดยรวมลดลงจาก 7.1 ± 3.42 วัน เป็น 5.5 ± 2.59 วัน ส่วนค่าเฉลี่ยจำนวนวันนอนในกลุ่ม
วินิจฉัยโรคร่วม 08030 ลดลงจาก 6.9 ± 2.66 วันเป็น 5.2 ± 1.94 วัน สัมประสิทธิ์การผันแปรของกลุ่มก่อนและ
หลังส่งรายงานไม่แตกต่างกันมากคือ ร้อยละ 37.30 และ 38.55 ตามลำดับ สรุปว่าภายหลังการส่งรายงานค่าเฉลี่ย
จำนวนวันนอนลดลงทำให้สามารถรับผู้ป่วยได้มากขึ้น แต่การผันแปรของจำนวนวันนอนไม่เปลี่ยนแปลงมากซึ่งเป็น
โอกาสพัฒนาต่อไป
A retrospective study was conducted to compare means and variations of length of stay (LOS) between groups of patient with Total Knee Replacement (TKR) before and after submitting the Report of Utilization Review to the Clinical Lead Team of the Department of Orthopedics, Faculty of Medicine Ramathibodi Hospital. The data was collected from study patients who had arthrosis of the knee and scheduled to undergoing TKR. Patients were purposively selected from the Hospital Information System had the Diagnostic Related Groups (DRG) of TKR and completed selective data for the study as inclusion criteria. The study sample size of 2,678 cases was separated into 2 groups: 1,130 cases (fiscal year 2005 – 2008) and 1,548 cases (fiscal year 2010 – 2013). The results revealed that approximately 80% of the sample were older female in both groups and the patients having LOS ≤ 6 days increased from 51.4 to 81.5%. Total mean LOS, mean LOS in DRG 08030 and hospital charge were statistically different at alpha .01 and .001. After submitting the report the total mean LOS was reduced from 7.1 (SD 3.42) to 5.5 (SD 2.59) days and mean LOS in DRG 08030 decreased from 6.9 (SD2.66) to 5.2 (SD 1.94) days. Coefficient of variations (CV) of LOS after submitting the report showed less variation than those in the first group, 37.30% versus 38.55% respectively. In conclusion, after submitting the Report of Utilization Review the LOS had decreased which led to an increase in the number of patients who could receive a TKR but variation of LOS, however still needs improvement.
A retrospective study was conducted to compare means and variations of length of stay (LOS) between groups of patient with Total Knee Replacement (TKR) before and after submitting the Report of Utilization Review to the Clinical Lead Team of the Department of Orthopedics, Faculty of Medicine Ramathibodi Hospital. The data was collected from study patients who had arthrosis of the knee and scheduled to undergoing TKR. Patients were purposively selected from the Hospital Information System had the Diagnostic Related Groups (DRG) of TKR and completed selective data for the study as inclusion criteria. The study sample size of 2,678 cases was separated into 2 groups: 1,130 cases (fiscal year 2005 – 2008) and 1,548 cases (fiscal year 2010 – 2013). The results revealed that approximately 80% of the sample were older female in both groups and the patients having LOS ≤ 6 days increased from 51.4 to 81.5%. Total mean LOS, mean LOS in DRG 08030 and hospital charge were statistically different at alpha .01 and .001. After submitting the report the total mean LOS was reduced from 7.1 (SD 3.42) to 5.5 (SD 2.59) days and mean LOS in DRG 08030 decreased from 6.9 (SD2.66) to 5.2 (SD 1.94) days. Coefficient of variations (CV) of LOS after submitting the report showed less variation than those in the first group, 37.30% versus 38.55% respectively. In conclusion, after submitting the Report of Utilization Review the LOS had decreased which led to an increase in the number of patients who could receive a TKR but variation of LOS, however still needs improvement.