Publication: Illness Perception, Personal Characteristics, Social Support, and Lifestyle Behavior in Patients With Hypertension, Attending a Cardiac Out-Patient Department, Nepal
dc.contributor.author | Rashmi Maharjan | en_US |
dc.contributor.author | Sirirat Leelacharas | en_US |
dc.contributor.author | Wonnapha Prapaipanich | en_US |
dc.contributor.author | ราสช์มิ มาหาร์จัน | en_US |
dc.contributor.author | สิริรัตน์ ลีลาจรัส | en_US |
dc.contributor.author | วรรณภา ประไพพานิช | en_US |
dc.contributor.other | Mahidol University. Faculty of Medicine Ramathibodi Hospital. Ramathibodi School of Nursing | en_US |
dc.contributor.other | Kathmandu University School of Medical Sciences | en_US |
dc.date.accessioned | 2022-09-19T03:03:19Z | |
dc.date.available | 2022-09-19T03:03:19Z | |
dc.date.created | 2022-09-19 | |
dc.date.issued | 2018 | |
dc.description.abstract | Background: Hypertension is the most common risk factor of premature deaths due to cardiovascular diseases worldwide. Currently, there is no available information of illness perception in Nepalese patients with hypertension and involved variables and their relationships with lifestyle behavior on controlling high blood pressure which is the starting point of this study. Objective: To describe illness perception, social support, and lifestyle behaviors and to examine the relationships of lifestyle behaviors with involved variables among Nepalese patients with hypertension. Methods: Two hundred thirteen patients with hypertension (purposive sampling) were recruited from the cardiac out-patient department (OPD) of Dhulikhel Hospital Kathmandu University Hospital, Nepal. Questionnaires composed of demographic information, Brief Illness Perception Questionnaire, Social Support Scale, and Lifestyle Behavior Scale were used. Descriptive statistics, Pearson correlation coefficient, and independent t test were used for data analysis. Results: Participants perceived hypertension as benign condition which did not have serious consequences, symptoms, and emotional effects in their lives. They had very good social support for managing their hypertension in addition to having good lifestyle behavior. Lifestyle behavior had positive relationships with social support (r = 0.320; P < 0.001) and waist circumference (r = 0.152; P < 0.05) but had inverse relationships with age (r = -0.140; P < 0.05) and illness perception (r = -0.137; P < 0.05). There were no relationships between duration of treatment of illness and body mass index with lifestyle behavior. There were no significant differences of lifestyle behaviour based on level of education and family history of illness. Conclusions: As patients with appropriate illness perception and adequate social support have exhibited satisfactory lifestyle behaviors, nurses can assess and utilize these factors in engaging patients with hypertension to perform better health behaviors for controlling their blood pressure. | en_US |
dc.description.abstract | บทนำ: ความดันโลหิตสูงเป็นปัจจัยเสี่ยงที่สำคัญซึ่งนำไปสู่การเสียชีวิตก่อนวัยอันควรโดยเฉพาะระบบโรคหัวใจและหลอดเลือด ปัจจุบันยังไม่มีข้อมูลพื้นฐานของการรับรู้ความเจ็บป่วยในผู้มีภาวะความดันโลหิตสูงของประเทศเนปาลกับตัวแปรที่เกี่ยวข้องและความสัมพันธ์ของตัวแปรต่างๆ กับพฤติกรรมการดำเนินชีวิต ซึ่งส่งผลต่อการควบคุมระดับความดันโลหิตสูง จึงเป็นที่มาของการเริ่มต้นการศึกษาในครั้งนี้ วัตถุประสงค์: เพื่ออธิบายการรับรู้ความเจ็บป่วย แรงสนับสนุนทางสังคม และพฤติกรรมการดำเนินชีวิต รวมถึงตรวจสอบความสัมพันธ์ของพฤติกรรมการดำเนินชีวิตกับตัวแปรที่เกี่ยวข้องในชาวเนปาลที่มีภาวะความดันโลหิตสูง วิธีการศึกษา: กลุ่มตัวอย่างผู้ป่วยความดันโลหิตสูง จำนวน 213 คน จากหน่วยตรวจผู้ป่วยนอกโรคหัวใจของโรงพยาบาลดูลิเคิล เมืองกาฐมาณฑุ ประเทศเนปาล ทำการตอบแบบสอบถามซึ่งประกอบด้วย ข้อมูลส่วนบุคคล แบบสอบถามการรับรู้ความเจ็บป่วยแบบย่อ แบบสอบถามแรงสนับสนุนทางสังคม และแบบสอบถามพฤติกรรมการดำเนินชีวิต จากนั้นวิเคราะห์ข้อมูลโดยใช้สถิติเชิงบรรยาย และวิเคราะห์ความสัมพันธ์โดยใช้สถิติ Pearson correlation coefficient และ t test ผลการศึกษา: จากกลุ่มตัวอย่างพบว่า ผู้ป่วยรับรู้ว่าความดันโลหิตสูงเป็นภาวะที่เกิดขึ้นได้ ไม่มีอาการ หรือส่งผลกระทบที่รุนแรงทั้งด้านร่างกายและจิตใจ ส่วนใหญ่มีพฤติกรรมการดำเนินชีวิตที่ดีและมีแรงสนับสนุนทางสังคมที่ดีต่อการจัดการกับภาวะความดันโลหิตสูง โดยพฤติกรรมการดำเนินชีวิตมีความสัมพันธ์ทางบวกอย่างมีนัยสำคัญทางสถิติกับแรงสนับสนุนทางสังคม (r = 0.32; P < 0.001) และเส้นรอบเอว (r = 0.152; P < 0.05) แต่มีความสัมพันธ์ทางลบอย่างมีนัยสำคัญสถิติกับอายุ (r = -0.14; P < 0.05) และการรับรู้ความเจ็บป่วย (r = -0.137; P < 0.05) แต่ไม่พบความสัมพันธ์ของช่วงเวลาของการรักษา ดัชนีมวลกาย และพฤติกรรมการดำเนินชีวิต สรุป: การรับรู้ความเจ็บป่วยที่เหมาะสมและการได้รับแรงสนับสนุนทางสังคมที่เพียงพอส่งผลต่อความพึงพอใจของพฤติกรรมทางสุขภาพ พยาบาลสามารถประเมินและประยุกต์ใช้ปัจจัยที่เกี่ยวข้องเหล่านี้ในการดูแลพฤติกรรมทางสุขภาพที่ดียิ่งขึ้นเพื่อควบคุมระดับความดันโลหิตของผู้ป่วยความดันโลหิตสูง | en_US |
dc.identifier.citation | Ramathibodi Medical Journal. Vol. 41, No. 4 (Oct-Dec 2018), 37-47 | en_US |
dc.identifier.issn | 0125-3611 (Print) | |
dc.identifier.issn | 2651-0561 (Online) | |
dc.identifier.uri | https://repository.li.mahidol.ac.th/handle/20.500.14594/79562 | |
dc.language.iso | eng | en_US |
dc.rights | Mahidol University | en_US |
dc.rights.holder | Ramathibodi School of Nursing Faculty of Medicine Ramathibodi Hospital Mahidol University | en_US |
dc.rights.holder | Kathmandu University School of Medical Sciences | en_US |
dc.subject | Illness perception | en_US |
dc.subject | Social support | en_US |
dc.subject | Lifestyle behavior | en_US |
dc.subject | Hypertension | en_US |
dc.subject | Nepal | en_US |
dc.subject | การรับรู้ความเจ็บป่วย | en_US |
dc.subject | แรงสนับสนุนทางสังคม | en_US |
dc.subject | พฤติกรรมการดำเนินชีวิต | en_US |
dc.subject | ความดันโลหิตสูง | en_US |
dc.subject | ประเทศเนปาล | en_US |
dc.title | Illness Perception, Personal Characteristics, Social Support, and Lifestyle Behavior in Patients With Hypertension, Attending a Cardiac Out-Patient Department, Nepal | en_US |
dc.title.alternative | การรับรู้ความเจ็บป่วย บุคลิกลักษณะส่วนบุคคล แรงสนับสนุนทางสังคม และพฤติกรรมการดำเนินชีวิตของผู้มีภาวะความดันโลหิตสูง ที่มาหน่วยตรวจผู้ป่วยนอกโรคหัวใจ ประเทศเนปาล | en_US |
dc.type | Original Article | en_US |
dspace.entity.type | Publication | |
mods.location.url | https://he02.tci-thaijo.org/index.php/ramajournal/article/view/117206/116912 |