Publication:
ปัจจัยที่มีความสัมพันธ์กับความเครียดในญาติผู้ดูแลผู้ป่วยโรคหลอดเลือดสมองที่บ้าน

dc.contributor.authorภาวิณี พรหมบุตรen_US
dc.contributor.authorนพวรรณ เปียซื่อen_US
dc.contributor.authorสมนึก สกุลหงส์โสภณen_US
dc.contributor.authorPavinee Prombuten_US
dc.contributor.authorNoppawan Piaseuen_US
dc.contributor.authorSomnuk Sakulhongsoponen_US
dc.contributor.otherมหาวิทยาลัยมหิดล. คณะแพทยศาสตร์โรงพยาบาลรามาธิบดี. โรงเรียนพยาบาลรามาธิบดีen_US
dc.date.accessioned2019-11-29T07:22:28Z
dc.date.available2019-11-29T07:22:28Z
dc.date.created2562-11-29
dc.date.issued2557
dc.description.abstractการวิจัยครั้งนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อศึกษาความสัมพันธ์ของปัจจัยด้านบุคคล ระหว่าง บุคคล สังคมและวัฒนธรรมกับความเครียดในญาติผู้ดูแลผู้ป่วยโรคหลอดเลือดสมองที่บ้าน กลุ่มตัวอย่างคือ ญาติผู้ดูแลผู้ป่วยโรคหลอดเลือดสมองที่บ้านที่อาศัยอยู่ในชุมชนในจังหวัด ทางภาคตะวันออกเฉียงเหนือ จำนวน 199 ราย เลือกตัวอย่างแบบเฉพาะเจาะจง เก็บรวบรวม ข้อมูลโดยการสัมภาษณ์จากแบบสอบถาม วิเคราะห์ข้อมูลด้วยสถิติบรรยายและสถิติสหสัมพันธ์ แบบสเปียร์แมน ผลการวิจัยพบว่า ตัวอย่างญาติผู้ดูแลส่วนใหญ่เป็นเพศหญิง (ร้อยละ 82.4) อายุเฉลี่ย 51.61 ± 14.43 ปีสถานภาพสมรสคู่(ร้อยละ 78.89)จบการศึกษาในระดับ ประถมศึกษา (ร้อยละ 67.89) มีรายได้ต่ำกว่า 5,000 บาทต่อเดือน (ร้อยละ 59.30) ประกอบ อาชีพเกษตรกรรม (ร้อยละ 62.81) และนับถือศาสนาพุทธทุกราย ญาติผู้ดูแลมีการรับรู้ สมรรถนะตนเองอยู่ในระดับมาก สัมพันธภาพระหว่างผู้ป่วย ญาติผู้ดูแล และครอบครัว อยู่ในระดับดีมีความเชื่อเกี่ยวกับบาปบุญอยู่ในระดับมาก รวมทั้งผู้ป่วยมีความสามารถใน การประกอบกิจวัตรประจำวันอยู่ในระดับมาก ในขณะที่แรงสนับสนุนทางสังคมโดยรวม อยู่ในระดับปานกลาง และญาติผู้ดูแลส่วนใหญ่ (ร้อยละ 84.92) มีความเครียดอยู่ใน ระดับต่ำ ผลการวิเคราะห์ความสัมพันธ์พบว่า ความเครียดมีความสัมพันธ์ทางลบกับการรับรู้ สมรรถนะตนเองของญาติผู้ดูแล ความสามารถในการประกอบกิจวัตรประจำวันของผู้ป่วย สัมพันธภาพระหว่างผู้ป่วย ญาติผู้ดูแล และครอบครัว และแรงสนับสนุนทางสังคมจาก ครอบครัว ผลการศึกษาครั้งนี้มีข้อเสนอแนะต่อพยาบาลเวชปฏิบัติชุมชนในการให้การดูแล ญาติผู้ดูแลผู้ป่วยโรคหลอดเลือดสมอง โดยเฉพาะอย่างยิ่งผู้ป่วยที่มีความสามารถในการ ประกอบกิจวัตรประจำวันน้อย โดยประเมินความเครียด การรับรู้สมรรถนะตนเองของญาติ ผู้ดูแล รวมทั้งส่งเสริมสัมพันธภาพในครอบครัวและแรงสนับสนุนทางสังคมจากครอบครัว ของญาติผู้ดูแลผู้ป่วยโรคหลอดเลือดสมองen_US
dc.description.abstractThis study aimed to examine relationships of the personal, interpersonal, social, and cultural factors and stress in family caregivers of patients with stroke at home. Through purposive sampling, the sample included 199 family care givers of patients with stroke residing in communities of a province in north eastern Thailand. Data were collected by interview from the questionnaire, and were then analyzed using descriptive statistics and Spearman Rank Correlation. Results revealed that the majority of the sample were female (82.4%) with mean age of 51.61 ± 14.43 years, ranging from 15-83 years. Most of them were married (78.89%),obtained primary education (67.89%), had low income (59.3%), and were farmers (62.81%). All were Buddhist. The sample had perception of self efficacy, family relationship, belief in Buddhist doctrine, and ability for daily living of patients at a high level, while social support was at moderate level. Most of the caregivers had a low level of stress (84.92%). Correlational analysis revealed that factors negatively associated with stress were self efficacy, ability for daily living of patients, family relationship, and social support from family. There sults suggest tha tcommunity nurse practitioners who provide care for family caregivers, particularly those who take care of patients with low ability for daily living should assess caregivers’ stress and self efficacy and enhance family relationships and family support for them.en_US
dc.identifier.citationรามาธิบดีพยาบาลสาร. ปีที่ 20, ฉบับที่ 1 (ม.ค.-เม.ย. 2557), 89-96en_US
dc.identifier.issn0858-9739 (Print)
dc.identifier.issn2672-9784 (Online)
dc.identifier.urihttps://repository.li.mahidol.ac.th/handle/20.500.14594/48250
dc.language.isothaen_US
dc.rightsมหาวิทยาลัยมหิดลen_US
dc.rights.holderโรงเรียนพยาบาลรามาธิบดี คณะแพทยศาสตร์โรงพยาบาลรามาธิบดี มหาวิทยาลัยมหิดลen_US
dc.subjectความเครียดen_US
dc.subjectญาติผู้ดูแลที่บ้านen_US
dc.subjectโรคหลอดเลือดสมองen_US
dc.subjectระบบนิเวศวิทยาen_US
dc.subjectStressen_US
dc.subjectFamily caregiveren_US
dc.subjectStrokeen_US
dc.subjectEcological systemen_US
dc.titleปัจจัยที่มีความสัมพันธ์กับความเครียดในญาติผู้ดูแลผู้ป่วยโรคหลอดเลือดสมองที่บ้านen_US
dc.title.alternativeFactors Related to Stress of Family Caregiver of Patients with Stroke at Homeen_US
dc.typeResearch Articleen_US
dspace.entity.typePublication
mods.location.urlhttps://www.tci-thaijo.org/index.php/RNJ/article/view/19198/18387

Files

Original bundle

Now showing 1 - 1 of 1
Thumbnail Image
Name:
ra-ar-noppawan-2557-1.pdf
Size:
583.59 KB
Format:
Adobe Portable Document Format

License bundle

Now showing 1 - 1 of 1
No Thumbnail Available
Name:
license.txt
Size:
1.71 KB
Format:
Item-specific license agreed upon to submission
Description:

Collections