Publication:
แนวทางพัฒนาน้ำตาลมะพร้าวปลอดภัยสู่ทางเลือกนโยบายสาธารณะจังหวัดสมุทรสงคราม

dc.contributor.authorวชิรา จิตต์ปราณีen
dc.contributor.authorสุริยพงศ์ วัฒนาศักดิ์en
dc.contributor.otherมหาวิทยาลัยมหิดล. คณะสิ่งแวดล้อมและทรัพยากรศาสตร์
dc.date.accessioned2011-05-25T08:08:24Z
dc.date.accessioned2019-12-09T03:46:08Z
dc.date.available2011-05-25T08:08:24Z
dc.date.available2019-12-09T03:46:08Z
dc.date.created2007-05-25
dc.date.issued2007-12
dc.description.abstractงานวิจัยนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อศึกษาปัจจัยที่ก่อให้เกิดความไม่ปลอดภัยในการผลิตและบริโภคน้ำตาลมะพร้าว และแนวทางสร้างความปลอดภัยในการผลิตและบริโภคน้ำตาลมะพร้าวของจังหวัดสมุทรสงคราม เพื่อพัฒนาสู่ทางเลือกนโยบายสาธารณะโดยการมีส่วนร่วมของภาคประชาชน โดยใช้วิธีการสัมภาษณ์ระดับลึก การจัดเวทีระดมความคิดเห็น การสังเกตแบบไม่มีส่วนร่วม ประกอบกับการส้ารวจเอกสาร ผลการศึกษาพบว่าปัจจัยส้าคัญที่ก่อให้เกิดความไม่ปลอดภัยในการบริโภคน้ำตาลมะพร้าวในจังหวัดสมุทรสงคราม คือ ปริมาณการผลิตน้ำตาลมะพร้าวที่มีแนวโน้มลดลงมาโดยตลอด เนื่องจากพื้นที่สวนมะพร้าวตาลถูกรุกล้ำจากน้ำทะเล และการขาดแคลนแรงงานในกระบวนการผลิต ท้าให้เกิดการเพิ่มทดแทนของน้ำตาลหลอมออกสู่ตลาดแทนน้ำตาลแท้ รวมทั้งการใช้สารฟอกขาวกลุ่มซัลไฟต์ในกระบวนการผลิตจนทำให้เกิดการตกค้างของสารซัลเฟอร์ไดออกไซด์ในน้ำตาลมะพร้าวสูงเกินค่ามาตรฐานที่กระทรวงสาธารณสุขกำหนด ในส่วนของการศึกษาแนวทางสร้างความปลอดภัยในการผลิตและบริโภคน้ำตาลมะพร้าวได้ข้อสรุปว่า แนวทางที่ควรได้รับการพัฒนาสู่ทางเลือกนโยบายสาธารณะจังหวัดสมุทรสงคราม คือ การนำระบบมาตรฐานผลิตภัณฑ์ชุมชน (มผช.) น้ำตาลมะพร้าวสู่การยกระดับมาตรฐานผลิตภัณฑ์ ภายใต้การสนับสนุนขององค์กรชุมชนและหน่วยงานภาครัฐในระดับจังหวัด ร่วมกับการสนับสนุนการรวมกลุ่มการผลิตแบบค่อยเป็นค่อยไปจากกลุ่มผู้ผลิต มผช.ต้นแบบ โดยใช้กระแสสังคมเป็นแรงผลักดันเพื่อให้เกิดการขยายเครือข่ายการผลิตน้ำตาลมะพร้าวปลอดภัยในระดับที่กว้างขึ้นต่อไป.en
dc.description.abstractThe objectives of research were to study unsafe factors in coconut sugar production and consumption, to yield more suitable production and consumption, with cooperation of stakeholders to develop guidelines for alternative public policy. The field data was gathered by in-dept interview, group interview, non-participatory observation and documentary research. The results of the study revealed that the unsafe factors in coconut sugar production and consumption were the continuously decreasing of coconut sugar production because of salt water intrusion and lack of labour. Therefore, the natural coconut sugar volume was decreasing, but the counterfeit sugar was increasing to cope with market demand. The counterfeit sugar leads to contamination of a bleaching agent (Sodium hydrosulphite) which is illegal, unsafe and over the standard limit. Moreover, the study concluded that the appropriate guidelines should be the upgrading of product standards according to the Thai Community Product Standard and the cooperation of coconut sugar group. This guideline should be run under support of community organizations and provincial governmental agencies. Social support should be employed to generate effective cooperation expansion among producers to produce safe coconut sugar in the future.
dc.identifier.citationEnvironment and Natural Resources Journal. Vol. 5, No.2 (Dec 2007), 141-147
dc.identifier.issn1686-6096
dc.identifier.urihttps://repository.li.mahidol.ac.th/handle/20.500.14594/48331
dc.language.isothaen
dc.rightsมหาวิทยาลัยมหิดลen
dc.rights.holderคณะสิ่งแวดล้อมและทรัพยากรศาสตร์ มหาวิทยาลัยมหิดล
dc.subjectนโยบายสาธารณะen
dc.subjectน้้าตาลมะพร้าวen
dc.subjectจังหวัดสมุทรสงครามen
dc.subjectอาหารปลอดภัยen
dc.subjectPublic policyen
dc.subjectCoconut sugaren
dc.subjectSamutsongkhram provinceen
dc.subjectFood safetyen
dc.titleแนวทางพัฒนาน้ำตาลมะพร้าวปลอดภัยสู่ทางเลือกนโยบายสาธารณะจังหวัดสมุทรสงครามen
dc.title.alternativeGuideline development for safe coconut sugar as an alternative public policy, Samutsongkhram Province, Thailanden
dc.typeArticleen
dspace.entity.typePublication

Files

License bundle

Now showing 1 - 1 of 1
No Thumbnail Available
Name:
license.txt
Size:
1.71 KB
Format:
Plain Text
Description:

Collections