Publication:
Occurrence of complications of diabetic patients during the worst flood in 2011 in Phra Nakhon Si Ayutthaya province

dc.contributor.authorSurachai Chokkhanchitchaien_US
dc.contributor.authorBoonyong Keiwkarnkaen_US
dc.contributor.authorJutatip Sillabutraen_US
dc.contributor.otherMahidol University. ASEAN Institute for Health Developmenten_US
dc.date.accessioned2015-10-20T08:24:28Z
dc.date.accessioned2017-03-31T02:36:13Z
dc.date.available2015-10-20T08:24:28Z
dc.date.available2017-03-31T02:36:13Z
dc.date.created2015-10-20
dc.date.issued2014
dc.description.abstractThe cross-sectional study was conducted to identify factors associated with the occurrence of complications, and to predict risk factors of complication of diabetic patients during the worst flood in 2011 in Phra Nakhon Si Ayutthaya Province. Population in the study was 19,442 diabetic patients who were registered for treatment at hospitals in Phra Nakhon Si Ayutthaya Province, from October - December 2011. Data were collected using a standardized questionnaire from 278 diabetic patients by stratified random sampling method. Data were analyzed using descriptive statistics, Chi-square test and multiple logistic regression analysis. Most participants were females, Buddhists, aged between 41 to 60 years old. They were primarily educated, employed, and diagnosed with diabetes for less than ten years. Generally, most participants had moderated stress level, moderate awareness of the great flood, fair knowledge, and good attitude towards diabetes. Majority of them practiced self-management behavior in a good level. The study revealed that average fasting blood sugar (FBS) of diabetic patients was 153.9 mg/dL with standard deviation of 48.7 mg/dL. During the period of severe and lengthy flooding,51patients (18.3%)haddevelopedcomplications suchashyperglycemia (9.4%), andhypoglycemia (9.0 %). Using multiple logistic regression, there are 3 predictive factors that associated with occurrence of complications. All of them were statistically significant 1) Level of stress due to flooding, 2) Fasting Blood Sugar (FBS) level, and 3) Low-Density Lipoprotein Cholesterol (LDL-C) level. The result of this study could be used as complication prevention data by controlling stress level, FBS level, and LDL level. Moreover, public health policy should support all classes of health care system and launch out disaster preparation policy. Health care database improvement, drug reservation, and health care support for chronic disease were suggested to help improve self-care in the community.en_US
dc.description.abstractการวิจัยแบบตัดขวางนี้มีวัตถุประสงค์ เพื่อศึกษาปัจจัยที่มีความสัมพันธ์ต่อการเกิดภาวะแทรกซ้อน และศึกษาปัจจัยทำนายโอกาสเกิด ภาวะแทรกซ้อนในผู้ป่วยเบาหวานในช่วงวิกฤติมหาอุทกภัย ปี 2554 ของจังหวัดพระนครศรีอยุธยา ประชากรที่ใช้ในการวิจัย ได้แก่ ผู้ป่วย เบาหวานที่ขึ้นทะเบียนในโรงพยาบาลของจังหวัดพระนครศรีอยุธยา ตั้งแต่ ตุลาคม - ธันวาคม 2554 จำนวน 19,442 คน กลุ่มตัวอย่างที่ ถูกสุ่ม มีจำนวน 278 คน โดยวิธีสุ่มแบบชั้นภูมิ การรวบรวมข้อมูล ทำโดยแบบสอบถามที่ผู้วิจัยพัฒนาขึ้น สำหรับ การวิเคราะห์ข้อมูล นำเสนอ โดยใช้ค่าร้อยละ ค่ามัธยฐาน การทดสอบไคสแควร์และการวิเคราะห์การถดถอยโลจิสติกแบบพหุเพื่อทดสอบระดับความสัมพันธ์ของปัจจัย ทำนายกับการเกิดภาวะแทรกซ้อน ผลการศึกษาพบว่า กลุ่มตัวอย่างส่วนใหญ่เป็นเพศหญิง อายุระหว่าง 51-60 ปี นับถือศาสนาพุทธ การศึกษาระดับประถมศึกษา อาชีพ รับจ้างทั่วไป ระยะเวลาป่วยด้วยโรคเบาหวานน้อยกว่า 10 ปี มีภาวะความเครียดปานกลาง ความตระหนักเรื่องน้ำท่วมปานกลาง ความรู้เกี่ยว กับโรคเบาหวานปานกลางทัศนคติต่อโรคเบาหวานดีและผู้ป่วยส่วนใหญ่มีพฤิตกรรมการดแลูตนเองในระดับดี กลุ่มตัวอย่างมีค่าระดับน้ำตาล หลังอดอาหารเฉลี่ยเท่ากับ 153.9 ไมโครกรัมต่อเดซิลิตร และส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐานเท่ากับ 48.7 ทั้งนี้การเกิดภาวะแทรกซ้อนระหว่างการ เกิดมหาอุทกภัย พบทั้งสิ้น 51 ราย คิดเป็นร้อยละ 18.3 ได้แก่ภาวะน้ำตาลในเลือดสูง 26 ราย (ร้อยละ 9.4) และภาวะน้ำตาลในเลือดต่ำ 25 ราย (ร้อยละ 9) ในการวิเคราะห์ไคสแควร์ พบว่าปัจจัยที่มีความสัมพันธ์กับการเกิดภาวะแทรกซ้อนอย่างมีนัยสำคัญทางสถิติ ได้แก่ อายุ ระดับความดันโลหิต ความเครียดต่อการเกิดมหาอุทกภัย การออกกำลังกายและระดับน้ำตาลในเลือด (p<0.01) สำหรับการวิเคราะห์ตัวแปร พหุแบบโลจิสติก พบว่าปัจจัยที่สามารถทำนายการเกิดภาวะแทรกซ้อนอย่างมีนัยสำคัญทางสถิติ คือ ระดับความเครียดในช่วงมหาอุทกภัย ระดับน้ำตาลในเลือดหลังอดอาหาร และระดับโคเรสเตอรอลไขมันความหนาแน่นต่ำในเลือด (LDL-C) ผลการศึกษาสามารถนำมาใช้เป็นข้อมูล ในการป้องกันการเกิดภาวะแทรกซ้อนในผู้ป่วยเบาหวาน ระหว่างมหาอุทกภัย โดยควบคุม ระดับความเครียดต่อการเกิดอุทกภัย ควบคุมระดับน้ำตาลในเลือดหลังอดอาหารและระดับไขมันความหนาแน่นต่ำในเลือด นอกจากนี้ใน ระดับนโยบายสาธารณสุขระดับเขต ควรส่งเสริมให้สถานบริการสาธารณสุขทุกระดับ ได้มีการเตรียมความพร้อมของสถานบริการในด้าน ต่าง ๆ เพื่อรองรับการเกิดภัยพิบัติ อาทิเช่น การพัฒนาฐานข้อมูลด้านสุขภาพ ความพร้อมของบุคลากรสุขภาพทุกระดับ การเตรียมยารักษา โรคเรื้อรัง ตลอดจนการส่งเสริมสุขภาพของผู้ป่วยโรคเรื้อรัง เพื่อป้องกันการเกิดภาวะแทรกซ้อนในช่วงเกิดภัยพิบัติ และก่อให้เกิดการ พัฒนาการดูแลตนเองในชุมชนต่อไป
dc.identifier.citationJournal of Public Health and Development. Vol.12, No.3 (2014), 49-63en_US
dc.identifier.issn1905-1387
dc.identifier.urihttps://repository.li.mahidol.ac.th/handle/20.500.14594/1583
dc.language.isoengen_US
dc.rightsMahidol Universityen_US
dc.rights.holderASEAN Institute for Health Development Mahidol Universityen_US
dc.subjectOccurrence of complicationsen_US
dc.subjectDiabetic patientsen_US
dc.subjectWorst flooden_US
dc.subjectOpen Access articleen_US
dc.subjectJournal of Public Health and Developmenten_US
dc.subjectวารสารสาธารณสุขและการพัฒนาen_US
dc.titleOccurrence of complications of diabetic patients during the worst flood in 2011 in Phra Nakhon Si Ayutthaya provinceen_US
dc.title.alternativeการเกิดภาวะแทรกซ้อนในผู้ป่วยเบาหวาน ช่วงวิกฤติมหาอุทกภัยปี พ.ศ. 2554 จังหวัดพระนครศรีอยุธยาen_US
dc.typeArticleen_US
dspace.entity.typePublication

Files

Original bundle

Now showing 1 - 1 of 1
Thumbnail Image
Name:
ad-ar-boonyong-2014-1.pdf
Size:
2.29 MB
Format:
Adobe Portable Document Format

License bundle

Now showing 1 - 1 of 1
No Thumbnail Available
Name:
license.txt
Size:
1.71 KB
Format:
Plain Text
Description:

Collections